X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม

บทความ 3 นาที
ไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหมไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม

ปัญหาท้องอืดของทารกที่พ่อแม่ต่างปวดหัว บางคนบอกว่าให้ใช้ยาไกต์วอเตอร์จะช่วยได้ แล้วถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะเป็นอันตรายกับทารกไหมนะ

ไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม

เวลาทารกร้องไห้ ถ้าไม่ใช่หิวนม หรือเกิดไม่สบายตัวต้องการให้แม่เปลี่ยนผ้าอ้อม ก็อาจจะเป็นเพราะลูกท้องอืดได้ เพราะอาการท้องอืดสำหรับลูกในช่วง 4 เดือนแรกนั้น เป็นอาการที่เกิดได้บ่อยในวัยทารก ซึ่งพ่อแม่มักจะใช้ยามหาหิงค์ ทาท้องลูก แต่ทารกบางคนก็แพ้จนขึ้นผื่น จึงต้องหันมาหาไกต์วอเตอร์เอามาให้ลูกกิน ด้วยตัวยาเป็นชนิดรับประทาน พ่อแม่จึงมักมีคำถามอยู่เสมอว่า ไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม

ส่วนผสมของไกต์วอเตอร์

Gripe water (ไกต์วอเตอร์) มีส่วนประกอบสำคัญ คือ โซเดียมไบคาร์บอเนต, ดอกคาโมไมล์, ยี่หร่า, ขิง, สะระแหน่, อบเชย, น้ำมันกานพลู, ผักชีฝรั่ง, กระวาน, ยาหม่องมะนาว, กลีเซอรีน และน้ำมันฟรุตโตส

สำหรับสรรพคุณ หลักๆ แล้ว จะช่วยในการขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ทั้งยังเชื่อกันว่าสามารถแก้อาการโคลิคได้ด้วย

ให้ลูกกินไกต์วอเตอร์ยังไงดี

สามารถให้ลูกกินโดยใช้ไซริงค์ป้อนยา ขนาดที่ใช้คือครั้งละ 2.5 – 10 มิลลิลิตร หรือตามที่แพทย์แนะนำ อาจต้องกินหลายครั้งในหนึ่งวัน เมื่อลูกทานยาขณะมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อ จะใช้เวลาในการออกฤทธิ์ราวๆ 5 – 20 นาที

ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม

ยังไม่พบรายงานที่ว่า ยาไกต์วอเตอร์ ส่งผลอันตรายกับทารก แต่ก็ไม่แนะนำให้กินเพื่อป้องกันอาการท้องอืด พ่อแม่ควรจะสังเกตว่า เพราะเหตุใดลูกถึงมีอาการท้องอืด เพราะไม่จับลูกเรอหรือเปล่า หรือเป็นเพราะอาหารที่แม่ทานก่อนให้นมลูก

แก้อาการท้องอืดทารกโดยไม่ต้องพึ่งยา

  • ควรจับลูกเรอทุกครั้ง หลังดื่มนมอิ่มในทุกมื้อ โดยท่าอุ้มลูกเรอมีอยู่หลายท่า เช่น การอุ้มพาดบ่าแล้วลูบหลังเบาๆ หรือแม้แต่จับลูกนั่งบนตัก ใช้มือประคองไว้ใต้คาง แล้วโน้มตัวลูกไปข้างหน้า เอามือลูบหลัง 10 วินาที แล้วคืนตัวตรง
  • ไล่ลมจากท้องด้วยการ การจับลูกน้อยนอนหงาย งอหัวเข่าน้อยๆ และขาเล็กๆ นั้น โดยการกดขาลงไปชิดหน้าท้องอย่างเบามือ หรือใช้ท่าปั่นจักรยานกลางอากาศ ขยับขาไล่ลม ลดอาการท้องอืด
  • นวดทารกอย่างเบามือ นวดท้องลูกด้วยฝ่ามือกดหน้าอกไล่มาใต้สะดือ ใช้มือทั้งสองข้างช้อนบริเวณสันหลัง แล้วให้หัวแม่มือนวดวนเป็นวงกลมที่ท้อง หรือจะจับลูกนอนคว่ำ นวดหลังเบาๆ จากก้นกบไล่ขึ้นไปถึงกระดูกสะบัก

แม้ว่าไกต์วอเตอร์หรือมหาหิงค์ จะเป็นตัวช่วยชั้นดีลดอาการท้องอืดของทารกได้ แต่จะดีกว่าถ้าแม่ๆ ป้องกันไม่ให้ลูกท้องอืด ด้วยการจับลูกเรอทุกครั้ง แต่ถ้าลูกน้อยยังมีอาการร้องไห้โยเย ท้องป่อง ไม่หายสักที ต้องรีบพาไปพบแพทย์ เพื่อตรวจร่างกายของทารกอย่างละเอียดนะคะ

ที่มา : doctor.or.th

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

มหาหิงค์ vs ไกร๊ปวอเตอร์ ใช้แก้ท้องอืดสําหรับทารกต่างกันอย่างไร

อาการป่วยที่พบบ่อยในทารก

 

บทความจากพันธมิตร
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ไกต์วอเตอร์ กินยังไง ถ้าให้ลูกกินบ่อยๆ จะอันตรายกับทารกไหม
แชร์ :
  • ระวัง! อาหารเสี่ยงมะเร็งที่แม่อาจเผลอให้ลูกกินบ่อยๆ

    ระวัง! อาหารเสี่ยงมะเร็งที่แม่อาจเผลอให้ลูกกินบ่อยๆ

  • 10 อาหารที่ทําให้ท้องอืด อาหารที่ทำให้ปวดท้อง ยิ่งกินยิ่งปวดท้อง!

    10 อาหารที่ทําให้ท้องอืด อาหารที่ทำให้ปวดท้อง ยิ่งกินยิ่งปวดท้อง!

  • สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

    สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • ระวัง! อาหารเสี่ยงมะเร็งที่แม่อาจเผลอให้ลูกกินบ่อยๆ

    ระวัง! อาหารเสี่ยงมะเร็งที่แม่อาจเผลอให้ลูกกินบ่อยๆ

  • 10 อาหารที่ทําให้ท้องอืด อาหารที่ทำให้ปวดท้อง ยิ่งกินยิ่งปวดท้อง!

    10 อาหารที่ทําให้ท้องอืด อาหารที่ทำให้ปวดท้อง ยิ่งกินยิ่งปวดท้อง!

  • สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

    สามี-ภรรยา เกิดมาร่วมกันในชาตินี้ แสดงว่าทำกรรมร่วมกันมา แต่อดีตชาติจริงหรือ?

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ