X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus เชื้ออันตราย

บทความ 5 นาที
วัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus เชื้ออันตรายวัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus เชื้ออันตราย

หยอดวัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน พ่อจ๋าแม่จ๋า อย่าลืมพาหนูไปหยอดวัคซีน

วัคซีนโรต้าฟรี

กทม.ชวนพ่อแม่ผู้ปกครองนำลูกพาหลานอายุ 2 เดือนหยอด วัคซีนโรต้าฟรี ป้องกันโรคอุจจาระร่วง โดยทารกต้องมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ

 

หยอดหยอดวัคซีนโรต้าฟรี 

นายสุนทร สุนทรชาติ รองผู้อำนวยการสำนักอนามัย (สนอ.) กรุงเทพมหานคร (กทม.) กล่าวถึงการหยอดวัคซีนโรต้าฟรี ว่า กทม.ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพเด็กเล็ก โดยเฉพาะทารกแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงมักเจ็บป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสโรต้า

ปัจจุบันมีสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยทั้งร้อน หนาวและมีฝนตก จึงทำให้เชื้อโรคเจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะโรคอุจจาระร่วงในเด็กเล็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ส่งผลเสียต่อสุขภาพของเด็กที่กำลังอยู่ในวัยเจริญเติบโต อาจเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ง่าย

ทั้งนี้ ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้าที่มีประสิทธิภาพและสามารถป้องกันอันตรายจากไวรัสโรต้าที่ทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กได้ถึงร้อยละ 95 จึงเชิญชวนผู้ปกครองนำบุตรหลานอายุ 2 เดือนที่มีภูมิ ลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ มาหยอดวัคซีนโรต้าฟรี ป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า ทุกวันอังคารเวลา 12.00-15.00 น. ตั้งแต่วันที่ 15 ม.ค. 2562 เป็นต้นไป ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักอนามัยทุกแห่ง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองควบคุมโรคติดต่อสำนักอนามัย กทม. โทร.0-2203-2887-9

ที่มา : https://www.dailynews.co.th/bangkok/668561

 

วิธีป้องกันเชื้อไวรัสโรต้า

การหยอดวัคซีนโรต้า มี 2 แบบ เป็นช่วงอายุ 2 เดือน อายุ 4 เดือน อายุ 6 เดือน (วัคซีนชนิด RotaTeqTM หรือ Pentavalent vaccine) กับแบบที่หยอดแค่ตอนอายุ 2 เดือน และอายุ 4 เดือน (วัคซีนชนิด RotarixTM หรือ Monovalent vaccine)

 

วัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus เชื้ออันตราย หยอดวัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน อย่าลืมพาลูกไปหยอดวัคซีน

หยอดวัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus

ไวรัสโรต้าคืออะไร?

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี กุมารแพทย์ อธิบายถึงไวรัสโรต้าว่า โรต้าเป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ที่ติดต่อได้ง่าย เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กเล็ก โดยพบได้มากสุดในเด็กช่วงอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี มีรายงานว่าเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีแทบทุกคนต้องเคยติดเชื้อ ไวรัสโรต้าอย่างน้อย 1 ครั้งในชีวิต โดยการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้เด็กเล็กมีอาการท้องเสียรุนแรงจนต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจากการขาดน้ำและเกลือแร่

 

เด็ก ๆ ติดเชื้อไวรัสโรต้าได้อย่างไร?

การติดเชื้อไวรัสชนิดนี้เกิดจากการกินสิ่งที่มีไวรัสปนเปื้อนเข้าทางปาก ไม่ว่าจะเป็นน้ำ อาหาร และสิ่งของ โดยไวรัสชนิดนี้อาจติดอยู่ตามสิ่งของ เช่นของเล่นเด็ก เมื่อเด็ก ๆ นำสิ่งของ หรือ มือที่เปื้อนเชื้อไวรัสเข้าปาก ก็สามารถติดเชื้อได้ จากนั้นเชื้อไวรัสเดินทางไปตามระบบทางเดินอาหาร คือ กระเพาะอาหาร และลำไส้ ทำลายเยื่อบุผนังลำไส้ทำให้เกิดอาการอักเสบติดเชื้อขึ้น

 

เมื่อติดเชื้อไวรัสโรต้าแล้วจะแสดงอาการอย่างไร?

หลังได้รับเชื้อ 1-2 วัน เด็ก ๆ ที่ติดเชื้อจะเริ่ม

  • มีไข้ และอาเจียน
  • บางรายอาจเกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ คือ มีน้ำมูกไหล ไอ คอแดง ร่วมด้วย
  • ต่อมาจะมีอาการท้องเสีย ถ่ายเหลว ส่วนใหญ่อาการจะหายไปภายใน 3-5 วัน

ส่วนน้อยจะมีอาการท้องเสียยืดเยื้อเรื้อรังมากกว่า 1 สัปดาห์ หากการท้องเสียเกิดขึ้นเป็นเวลานาน หรือมีอาการรุนแรงทำให้เด็กขาดน้ำ และเกลือแร่มาก จนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลได้

เมื่อเด็ก ๆ มีอาการท้องเสียและไปพบคุณหมอ หากเก็บอุจจาระได้ คุณหมอจะนำส่งห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาการติดเชื้อ โดยดูจำนวนเม็ดเลือดในอุจจาระ และตรวจหาเชื้อไวรัสโรต้าได้ค่ะ

 

วิธีป้องกันไวรัสโรต้าด้วยนมแม่

เพจมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย โพสต์ว่า เด็กทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ อาการรุนแรงจะพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี

ป้องกันได้โดย

  1. ให้ทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และกินนมแม่ต่อพร้อมอาหารตามวัยต่อเนื่องถึง 2 ปี หรือนานกว่านั้น
  2. การหยอดวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้า ตั้งแต่ทารกอายุ 2 เดือนขึ้นไป แต่ครั้งแรกที่เริ่มหยอดต้องอายุไม่เกิน 15 สัปดาห์ หรือประมาณ 4 เดือน

แล้วอย่างไหนจะดีกว่ากัน? มาดูกันค่ะ

การศึกษาในประเทศเม็กซิโก รายงานใน British Medical Journal เมื่อ January 2010 สรุปว่า ” การให้วัคซีนป้องกันไวรัสโรต้า ลดการตายจากท้องเสียในทารกเม็กซิกัน ลงไปได้ 40 %”(1)

อีกการศึกษาหนึ่งใน เด็กชาวบราซิล พบว่าการให้นมแม่อย่างเดียว สามารถลดจำนวนเด็กที่ท้องเสียลงไปได้ 90 %. เมื่อเทียบกับเด็กที่กินนมผง และหรือ อาหารอื่น “(2)

“นมแม่” ช่วยป้องกันท้องเสียจากโรต้า ช่วยประหยัดเงิน เด็กสุขภาพดีค่ะ

ที่มา : https://www.facebook.com/Thaibf

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

โรต้าไวรัส สาเหตุโรคอุจจาระร่วง วิจัยเผยส่งผลต่อพัฒนาการทารก เสี่ยงไอคิวต่ำ

โรคหน้าหนาว ต้องระวังลูกป่วย ทารก เด็กเล็ก เสี่ยงโรคร้าย แถมมีโรคแทรกซ้อนรุนแรงถึงชีวิต!

4 อาการผิดปกติของอวัยวะเพศหญิง ที่พบบ่อยในทารก

ป้อนกล้วยลูก 2 เดือน ป้อนกล้วยลูกครั้งแรก ก่อน 6 เดือน ทารกเสี่ยงเสียชีวิต แม่อย่าทำ

 

บทความจากพันธมิตร
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • วัคซีนโรต้าฟรี ทารก 2 เดือน ต้องหยอดวัคซีนโรต้า ป้องกันโรต้าไวรัส Rotavirus เชื้ออันตราย
แชร์ :
  • วัคซีนโรต้า วิธีป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากไวรัสโรต้า อย่าคิดว่าไม่สำคัญ

    วัคซีนโรต้า วิธีป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากไวรัสโรต้า อย่าคิดว่าไม่สำคัญ

  • ลูกแพ้วัคซีนโรต้า เรื่องเล่าจากหัวอกแม่

    ลูกแพ้วัคซีนโรต้า เรื่องเล่าจากหัวอกแม่

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • วัคซีนโรต้า วิธีป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากไวรัสโรต้า อย่าคิดว่าไม่สำคัญ

    วัคซีนโรต้า วิธีป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากไวรัสโรต้า อย่าคิดว่าไม่สำคัญ

  • ลูกแพ้วัคซีนโรต้า เรื่องเล่าจากหัวอกแม่

    ลูกแพ้วัคซีนโรต้า เรื่องเล่าจากหัวอกแม่

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ