X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลองฟัง ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ จากแม่สู่ลูก

บทความ 5 นาที
ลองฟัง ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ จากแม่สู่ลูก

คุณแม่ท่านใดที่อยากให้ลูกรักมีพัฒนาการที่สมวัย ลองฟังประสบการณ์ตรงกับการเสริมพัฒนาการลูกด้วยภาษามือ พร้อมกับให้ลูกทานนมเสริมสารอาหารไปด้วย จากคุณครูพิ้ง ชมพุนุช คุณแม่ของลูกชายน่ารักวัย 1 ขวบ 8 เดือนกันดูค่ะ

ลองฟัง ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ

ภาษามือ,นม,เสริมสารอาหาร,ลูก

                                                                        คุณชมพุนุช สถาวรมณี หรือ ‘ครูพิ้ง’ กับลูกชายน้องเจสซี่ วัย 1 ขวบ 8 เดือน

จากแม่สู่ลูกลองฟัง ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ จากแม่สู่ลูก พร้อมกับให้ลูกทานนมเสริมสารอาหารไปด้วย จากคุณครูพิ้ง ชมพุนุช ค่ะ

ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ จากแม่สู่ลูก

น้องอคิณลูกชายเนย

น้องอคิณลูกชายเนย

คุณชมพุนุช สถาวรมณี

คุณชมพุนุช สถาวรมณี หรือ ‘ครูพิ้ง’ เป็นนักธุรกิจและเจ้าของโรงเรียน Pink School of Finance สถาบันอบรมหลักสูตรนักวิเคราะห์การเงินระดับสากล นอกจากจะเป็นคุณแม่ของน้องเจสซี่ ลูกชายน่ารักวัย 1 ขวบ 8 เดือนแล้ว คุณพิ้งยังเคยรับเป็นครูสอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กเล็กวัย 3-6 ขวบให้กับธุรกิจโรงเรียนอนุบาลของที่บ้านอีกด้วย เพื่อให้รู้จริงในงานที่ทำ เธอจึงเลือกเรียนต่อระดับปริญญาโทในหลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษกับเด็กเล็ก (MA in Teaching English to Young Learners) จาก University of York ควบคู่กันไป

ลูกน้อยมักจะค้นพบวิธีในการสื่อสารกับคนรอบข้างเสมอ สิ่งนี้เกิดขึ้นก่อนที่พวกเขาจะออกมาลืมตาดูโลกค่ะ เด็ก ๆ มีจุดมุ่งหมายที่จะสื่อสารผ่านการเคลื่อนไหว และการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นภายนอก การได้ยินเสียงคุณพ่อคุณแม่ เพลงที่คุ้นเคย หรือ แม้กระทั่งเสียงเห่าของสุนัขในบ้าน เด็ก ๆ มักจะตอบสนองทันทีด้วยการเตะ หรือ กระทุ้งเท้าค่ะ จากที่ลูกน้อยถูกแยกให้อยู่ห่างจากโลกภายนอกเป็นเวลานาน ทำให้พวกเขาต้องการมีปฏิสัมพันธ์ในช่วงเวลาที่พวกเขาสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้แล้วค่ะ

หลังจากที่ลูกน้อยออกมาลืมตาดูโลก พวกเขาจะสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น ๆ ด้วยการร้องไห้ ขยับแขนขา เริ่มจ้องตา และจดจ้องกับสิ่งต่าง ๆ แต่กว่าที่ลูกน้อยจะเรียนรู้วิธีการพูดคุย และมีการสื่อสารที่ชัดเจน พวกเขาจะรู้สึกหงุดหงิดเป็นอย่างมากในการพยายามทำให้คนอื่นเข้าใจพวกเขา เด็ก ๆ รู้ว่า เขาต้องการอะไร เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่เข้าใจอย่างชัดเจน ทั้งสองฝ่ายจะต้องอาศัยความเข้าใจซึ่งกันและกันค่ะ

ภาษามือสำหรับทารกคืออะไร

ผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้ภาษามือในทารกกล่าวว่า เทคนิคนี้ช่วยให้ลูกน้อยสื่อสารกับคุณพ่อคุณแม่และคนอื่น ๆ ก่อนเข้าสู่วัยหัดพูด และช่วยฝึกฝนด้านการได้ยินอีกด้วยค่ะ

มีทักษะมากมายที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับกลุ่มคนหูหนวก ซึ่งคุณพ่อคุณแม่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารกับลูกน้อยได้โดยการใช้มือค่ะ ในทางกลับกันคุณพ่อคุณแม่ต้องใช้เสียง ใบหน้าและมือในการตอบโต้กับลูก โดยพื้นฐานแล้วภาษาสำหรับทารกได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เด็ก ๆ ใช้สื่อสาร เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่เข้าใจในสิ่งที่พวกเขากำลังสื่อค่ะ

ในประเทศไทยมีการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ที่ต้องการใช้ภาษามือมากมาย สามารถเรียนรู้ได้ทางอินเตอร์เน็ต หนังสือ แอพพลิเคชั่นและคลิปต่าง ๆ อีกทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในนามของรัฐบาลไทยรัฐบาลภาษามือไทยได้ให้การสนับสนุน “ภาษามือไทย” เป็นอย่างมาก จึงทำให้คนไทยเข้าถึงภาษามือได้ง่ายค่ะ

เสริมทักษะทางภาษาให้ลูกด้วยภาษามือ

จากการที่ได้เรียนมาด้านการสอนภาษาอังกฤษกับเด็กเล็ก ทำให้พิ้งทราบว่าเราสามารถสอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กได้ตั้งแต่ก่อนเข้าอนุบาลด้วยซ้ำค่ะ

และแม้จะเคยเป็นคุณครูเด็ก ๆ วัยอนุบาลมาแล้ว แต่เมื่อเป็นแม่คน การสอนเด็กวัยเตาะแตะก็ต้องใช้สัญชาตญาณความเป็นแม่ควบคู่ไปกับทฤษฏีด้วย โดยพิ้งได้หมั่นหาเทคนิคใหม่ ๆ ที่เหมาะสมในการใช้สอนลูกอยู่เสมอ สำหรับการสอนด้านภาษาอังกฤษพิ้งเลือกใช้การสอนคำศัพท์ให้ลูกผ่านการใช้ภาษามือของเด็ก (Baby Hand Sign) พิ้งพบว่าการใช้มือเป็นสื่อสัญลักษณ์ในการสื่อสาร มีประโยชน์หลายอย่าง คือ เด็กจะจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้น การเรียนรู้ภาษาที่สองและภาษาที่สามทำได้ง่ายขึ้น ในขณะเดียวกัน ถึงแม้เด็กจะพูดยังไม่ได้หรือไม่ชัด แต่ก็จะสามารถสื่อสารสิ่งที่ตัวเองต้องการให้ผู้ใหญ่ทราบได้โดยผ่านการใช้สัญญาณมือ

ยกตัวอย่างเช่นพิ้งเองที่เริ่มสอนภาษาอังกฤษให้กับเจสซี่ตั้งแต่ยังพูดไม่ได้ โดยเริ่มจากคำง่าย ๆ อย่างคำว่า “Ball” เราจะเอาลูกบอลของจริงมาตั้งให้ลูกดู แล้วทำสัญลักษณ์เป็นมือกลม ๆ พร้อมกับพูดคำว่า “Ball” ให้ลูกฟังด้วย ซึ่งต้องอาศัยการพูดให้ฟังบ่อย ๆ ในช่วงแรกก็ทำคนเดียวอยู่หลายเดือน จนวันนึงลูกเริ่มจำได้ เริ่มทำมือตามและออกเสียงตามได้อย่างถูกต้องด้วย หลังจากนั้นทุกครั้งที่ลูกอยากหยิบลูกบอล เค้าจะทำสัญลักษณ์มือเพื่อบอกเราเอง พอพิ้งสอนคำศัพท์อื่น ๆ เจสซี่ก็ดูดีใจที่เค้าสามารถสื่อสารกับผู้ใหญ่ได้รู้เรื่อง ซึ่งสิ่งนี้ยิ่งเป็นแรงใจให้เค้าอยากเรียนรู้คำใหม่ ๆ มากขึ้นไปอีก

ประโยชน์ของการใช้ภาษามือในทารกคืออะไร

ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษามือกล่าวไว้ว่า ประโยชน์ของภาษามือมีหลายอย่าง และมีประโยชน์ทั่วไปดังนี้
• เพิ่มพูนการสื่อสารระหว่างคุณพ่อคุณแม่และลูกน้อย บ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ความสามารถให้เวลา และทุ่มเทตนเองไปกับการเรียนรู้ภาษามือสำหรับทารก หากคุณพ่อคุณแม่พบว่า ภาษามือมีประโยชน์ก็สามารถจำกลวิธีที่จะนำไปใช้กับเด็ก ๆ อีกได้ในภายหลังค่ะ

อาจช่วยลดความคับข้องใจสำหรับเด็ก ๆ ในช่วงที่พวกเขายังไม่มีความสามารถในการสื่อสาร เนื่องจากยังไม่ถึงวัยที่กำหนด
• ภาษาสำหรับทารกอาจช่วยสร้างความมั่นใจและความภาคภูมิใจในตนเอง ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า เป็นเพราะลูกน้อยรู้สึกว่า คุณพ่อคุณแม่มีพยายามที่จะเข้าใจพวกเขา จึงทำให้ทารกรู้สึกมั่นใจในตนเองมากขึ้น
• ดูเหมือนภาษาจะดูไม่มีประโยชน์อะไรมากนักในระยะยาว ครั้งหนึ่งเมื่อทารกเรียนรู้การใช้ภาษามือ และสามารถใช้คำพูดเพื่อสื่อสารในสิ่งที่เขาต้องการได้แล้ว ภาษามือก็อาจจะไม่จำเป็นอีกต่อไป แต่ประโยชน์ที่แท้จริงคือการเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ไปตลอดชีวิต ทารกจะรู้สึกถึงความรู้สึกที่มั่นคงของการเชื่อมต่อทางอารมณ์ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับคุณพ่อคุณแม่ มีแนวโน้มที่จะรู้สึกถึงความปลอดภัยเหมือนกับผู้ใหญ่ค่ะ การวิจัยบ่งชี้ว่า ประโยชน์ระยะยาวของเด็กวัยหัดเดินที่มีระดับไอคิว +12 เมื่ออายุ 8 ขวบมีผลมาจากการที่พวกเขาได้รับการสอนภาษามือในวัยหัดเดินค่ะ

สารอาหารที่เป็นกุญแจสำคัญต่อพัฒนาการของลูก

พิ้งให้ความสำคัญกับคณภาพอาหารที่ลูกทานมากตั้งแต่แรกเกิดเลย อย่างนมแม่นับว่าเป็นอาหารที่มีบทบาทแรกที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของลูกน้อยที่สุด หลังจากลูกเกิดพิ้งพยามยามให้ลูกทานนมแม่อย่างต่อเนื่องประมาณ 11 เดือน แต่เนื่องจากร่างกายพิ้งผลิตน้ำนมได้น้อยจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเสริมนมผงที่มีคุณค่าทางอาหารที่มีประโยชน์ควบคู่ไปกับนมแม่ด้วย เช่น การเสริมนมที่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อลูกอย่าง DHA ARA สฟิงโกลลิปิด ฟอสโฟลิปิด และแกงกลิโอไซด์ เป็นหลัก โดยสารอาหารเหล่านี้น่าจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการลูกทั้งด้านร่างการ ระบบขับถ่าย สมองและเซลส์ประสาทได้อย่างครบถ้วนค่ะ

ที่มา  : www.snowbrand.co.th

บทวามอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

สอนภาษามือให้ลูกน้อยดีไหม?

ประสบการณ์ตรงเสริมพัฒนาการลูกด้วยภาษามือ

เคล็ดลับเรียนรู้ ภาษากายของเด็ก สิ่งที่เด็กชอบแสดงออกมาหมายถึงอะไร

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • ลองฟัง ประสบการณ์ตรงเสริมสร้าง พัฒนาการลูกด้วยภาษามือ จากแม่สู่ลูก
แชร์ :
  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

  • ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

    ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

  • ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

    ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

  • ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

    ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

  • ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

    ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว