X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

บทความ 5 นาที
5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

พบกับ 5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก ที่มีคุณพ่อคุณแม่ให้ความสนใจมากที่สุด

5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คุณพ่อ คุณแม่ เคยเกิดความกังวล เกี่ยวกับน้ำหนักของลูกกันบ้าง หรือเปล่าคะ  คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เวลาที่มีคนทักว่า ทำไมลูกตัวเล็กจัง ทำไมผอมจัง อะไรแบบนี้เป็นต้น ซึ่งวันนี้ เราได้รวบรวมเอา 5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก ที่มีคุณพ่อคุณแม่ให้ความสนใจมากที่สุด มาฝากกันค่ะ จะมีอะไรบ้างนั้น ไปดูกันเลยค่ะ

5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำถาม: ทารกแต่ละเดือน ควรมีน้ำหนักตัวเท่าไหร่

คำตอบ: น้ำหนักตัวที่เหมาะสม สำหรับเด็กแรกเกิดนั้น ควรอยู่ระหว่าง 2,500 – 4,000 กรัม โดยในแต่ละเดือนนั้น ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นดังนี้

0-3 เดือน น้ำหนักตัว ควรเพิ่มขึ้น 700 – 800 กรัมต่อเดือน

4-6 เดือน น้ำหนักตัว ควรเพิ่มขึ้น 500 – 600 กรัมต่อเดือน

7-9 เดือน น้ำหนักตัว ควรเพิ่มขึ้น ประมาณ 400 กรัมต่อเดือน

10-12 เดือน น้ำหนักตัว ควรเพิ่มขึ้น ประมาณ 300 กรัมต่อเดือน

คำถาม: น้ำหนักของทารกเพศหญิง และ ทารกเพศชายนั้น มีเกณฑ์เท่ากัน หรือ ไม่อย่างไร

คำตอบ: สำหรับน้ำหนักของทารกเพศหญิง และ ทารกเพศชายนั้น คุณพ่อ คุณแม่ สามารถดูรายละเอียดได้ตามนี้เลยค่ะ

น้ำหนักตัวเด็กหญิง

3 เดือน – 4.2 – 6 กิโลกรัม
6 เดือน– 5.5 – 8.5 กิโลกรัม
9 เดือน – 6.8 – 10.3 กิโลกรัม
12 เดือน – 7.5 – 11.5 กิโลกรัม

น้ำหนักตัวเด็กชาย

3 เดือน – 4.5 – 6.5 กิโลกรัม
6 เดือน– 6 – 9 กิโลกรัม
9 เดือน – 7.5 – 11 กิโลกรัม
12 เดือน – 8.2 – 11 กิโลกรัม

พบกับคำถามต่อไป ได้ที่หน้าถัดไปค่ะ

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำถาม: ควรชั่งน้ำหนักลูกน้อยบ่อยมาก น้อยขนาดไหน

คำตอบ: คุณแม่ไม่จำเป็น ต้องเพิ่มความเครียดให้กับตัวเอง ด้วยการชั่งน้ำหนักลูกน้อยทุกวัน เพราะน้ำหนักของทารก อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ซึ่งอาจเพิ่มขึ้น ตามปริมาณนมที่ลูกกินเข้าไปก่อนชั่งน้ำหนัก หรือ ลดลงเมื่อลูกขับถ่าย

ความถี่ในการชั่งน้ำหนักลูกน้อย แบ่งได้ตามอายุ ดังนี้

  • 2 สัปดาห์ – 6 เดือน – ควรชั่งเดือนละ 1 ครั้ง
  • 6-12 เดือน – ควรชั่งทุก 2 เดือน
  • 12 เดือนขึ้นไป – ควรชั่งทุก 3 เดือน

คำถาม: ลูกเราผอมไปเมื่อเทียบกับลูกคนอื่น แบบนี้ผิดปกติมาก หรือ น้อย

คำตอบ: สำหรับข้อนี้นั้น เหมือนเป็นปัญหาโลกแตกเลยละค่ะ เพราะเราไม่สามารถ ไปห้ามความคิดใครเขาได้ คนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนสมัยก่อนนั้น ชอบเด็กอ้วน เพราะเขาเชื่อว่าเด็กที่อ้วน คือ เด็กที่แข็งแรง แต่หารู้ไม่ว่า การที่ปล่อยให้เด็ก มีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์นั้น สามารถทำให้เด็ก เป็นโรคอ้วนเอาได้ง่าย ๆ ซึ่งเด็กที่เป็นโรคนี้นั้น มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ตามมาได้

  • ไขมันในเลือดสูง และ คอเลสเตอรอลในเลือดสูง
  • ความดันโลหิตสูง
  • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
  • โรคเบาหวาน
  • โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ
  • โรคผิวหนัง เช่น เชื้อราที่ผิวหนัง ผิวหนังอักเสบ ผดต่างๆ
  • ความผิดปกติของกระดูกและข้อ เช่น กระดูกโค้งงอ ขาโก่ง เท้าแบน ทำให้เดินลำบาก

คำถาม: ลูกเราผอม และ ตัวเล็ก หมายถึงร่างกายไม่แข็งแรงจริง ๆ หรือ

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก

คำตอบ: ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่า ธรรมชาติของทารก และเ ด็กเล็กนั้น ภูมิคุ้มกันค่อนข้างต่ำค่ะ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องปกติ ที่พวกเขาอาจจะมีโอกาสป่วย และ ไม่สบายบ่อย ๆ ไม่เกี่ยวเลยว่า เด็กคนนั้นจะผอม หรือ ว่าจะอ้วน ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่อย่ากังวลมากเกินไปเลยค่ะ ตราบใด ที่ลูกของเรา มีวิวัฒนาการที่ปกติ ร่าเริงแจ่มใส ก็แสดงว่าลูกเรามีสุขภาพที่ดี ไม่น้อยไปกว่าเด็กคนอื่น ๆ เลย ส่วนเรื่องโรคภัยไข้เจ็บนั้น ไม่มีใครสามารถ ห้ามไม่ให้เกิดได้ แต่เราสามารถป้องกันได้ ด้วยการหมั่นล้างมือให้ลูกบ่อย ๆ รับประทานของที่มีประโยชน์ กินของปรุงสดใหม่ ใช้ช้องกลง และ ระวังอย่าให้ลูกหยิบจับอะไรเข้าปาก ก็สามารถช่วยได้ในระดับหนึ่งแล้วละค่ะ

 

อ้างอิง: BellyBelly

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

โรคอ้วน โรคน่ากลัวของเด็กจ้้ำม่ำ!

แม่จ๋า…พาลูกเข้านอนช้าเสี่ยงเป็นโรคอ้วนเมื่อโต

กลัวลูกขาดสารอาหาร แม่ต้องทำอย่างไร ลูกกินแต่นม ต้องให้วิตามินเสริมหรือไม่ วิธีเริ่มอาหารเสริม สำหรับทารก

บทความจากพันธมิตร
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับน้ำหนักทารก
แชร์ :
  • 3 คำถามยอดนิยม กับการลดน้ำหนักของคุณแม่ ระหว่างให้นมบุตร

    3 คำถามยอดนิยม กับการลดน้ำหนักของคุณแม่ ระหว่างให้นมบุตร

  • เช็คไปพร้อมกัน! นำ้หนักทารก 1-10 สัปดาห์ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของเด็ก

    เช็คไปพร้อมกัน! นำ้หนักทารก 1-10 สัปดาห์ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของเด็ก

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

app info
get app banner
  • 3 คำถามยอดนิยม กับการลดน้ำหนักของคุณแม่ ระหว่างให้นมบุตร

    3 คำถามยอดนิยม กับการลดน้ำหนักของคุณแม่ ระหว่างให้นมบุตร

  • เช็คไปพร้อมกัน! นำ้หนักทารก 1-10 สัปดาห์ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของเด็ก

    เช็คไปพร้อมกัน! นำ้หนักทารก 1-10 สัปดาห์ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของเด็ก

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ