X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

3 สัญญาณบอกว่า นมแม่ใกล้หมด หรือมีน้อยเกินไปแล้ว

บทความ 3 นาที
3 สัญญาณบอกว่า นมแม่ใกล้หมด หรือมีน้อยเกินไปแล้ว3 สัญญาณบอกว่า นมแม่ใกล้หมด หรือมีน้อยเกินไปแล้ว

จะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำนมจะหดและใกล้ที่จะหมด อยากรู้ง่ายนิดเดียว ลองสังเกตจากสามสิ่งนี้ดูสิ

3 สัญญาณบอกว่า นมแม่ใกล้หมด หรือมีน้อยเกินไป

เพราะคุณแม่ทุกคนต้องการมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้กับลูก จึงมุ่งมั่นที่จะให้นมแม่ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่งฝันร้ายของคุณแม่ให้นมทุกคนก็คือ นมแม่หดและหมดในที่สุด แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า นมแม่ใกล้หมด บางทีเราอาจจะสังเกตได้ง่าย ๆ จากสัญญาณเหล่านี้

นมแม่ใกล้หมด

1. น้ำหนักตัวลูก

คุณแม่เคยสงสัยเกี่ยวกับน้ำหนักของลูกกันไหมว่า ทั้ง ๆ ที่กินนมแม่ประจำและบ่อย แต่ทำไมลูกถึงน้ำหนักลงหรือบางทีอาจจะไม่ขึ้นเลย องค์การอาหารและยาของประเทศออสเตรเลียได้กล่าวไว้ว่า น้ำหนักของทารกที่ดีและเหมาะสมของลูกในแต่ละสัปดาห์นั้น ควรขึ้นตามลำดับต่อไปนี้

  • แรกเกิดถึงสามเดือน ควรขึ้น 150 - 200 กรัมต่อสัปดาห์
  • อายุ 3 เดือนถึง 6 เดือน ควรขึ้น 100 - 150 กรัมต่อสัปดาห์
  • อายุ 6 เดือนถึง 12 เดือน ควรขึ้น 70 - 90 กรัมต่อสัปดาห์

ดังนั้น คุณแม่ลองสังเกต บางทีการที่ลูกทำท่าเหมือนดูดนมและหิวนมตลอดเวลา และคุณแม่ก็ให้ลูกทานบ่อย ๆ แต่น้ำหนักลูกกลับไม่ขึ้นเลย บางทีอาจจะเกิดจากน้ำนมของคุณแม่ใกล้หมดก็เป็นได้

2. ลูกถ่ายน้อยเกินไป

เป็นที่ทราบกันดีว่า นมแม่ นั้นย่อยง่าย ดังนั้นทารกที่ทานนมแม่มักจะไม่ท้องผูกและถ่ายง่ายเป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทารกแรกเกิดช่วงหนึ่งสัปดาห์แรก แต่ถ้าหากทารกแรกเกิดที่มีอายุ 6 วันขึ้นไปนั้น มีการขับถ่ายที่น้อยผิดปกติละก็ ให้คุณแม่ลองสันนิษฐานก่อนเลยว่า น้ำนมของคุณแม่ผลิตออกมามากพอกับความต้องการของลูกหรือหรือเปล่า

3. ปัสสาวะไม่บ่อย

อีกวิธีหนึ่งที่คุณแม่สามารถสังเกตได้ง่าย ๆ ก็คือ การนับผ้าอ้อมของลูก ในแต่ละวันนั้นคุณแม่ลองสังเกตดูว่า ลูกของเราปัสสาวะน้อยผิดปกติหรือเปล่า ซึ่งปกติแล้ว เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 5 วันขึ้นไป มักจะต้องปัสสาวะอย่างน้อย 5 ครั้งต่อวัน และปัสสาวะจะต้องไม่มีสีคล้ำดำ เหม็น

อย่างไรคุณม่ลองสังเกตดู เพราะนอกจากเราจะทราบได้ว่าน้ำนมของเรากำลังหดแล้ว ยังสามารถเช็กสุขภาพของลูกได้อีกด้วย


ที่มา: Belly Belly

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

วิธีปั๊มนม เทคนิคการปั๊มให้เกลี้ยงเต้า เอาใจคุณแม่นักปั๊ม บ้านไหน ลูกไม่ดูดเต้า ปั๊มอย่างเดียว ยิ่งต้องรู้

ปฏิบัติการกู้น้ำนม...มีวินัย ช่วงไหนก็กู้ได้

สารอาหารในนมแม่ นมแม่มีประโยชน์อย่างไร ให้นมลูกด้วยนมแม่ช่วงไหนดีที่สุด?

บทความจากพันธมิตร
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
2022 คุณแม่ต้องรู้ รีวิวเจาะลึกสารอาหารหลักนมกล่อง UHT ให้ลูกมีพัฒนาการดีที่สุดตามช่วงวัย
2022 คุณแม่ต้องรู้ รีวิวเจาะลึกสารอาหารหลักนมกล่อง UHT ให้ลูกมีพัฒนาการดีที่สุดตามช่วงวัย
5 วิธีเสริมภูมิคุ้มกันลูกให้แข็งแรง เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนรู้ตลอดเวลา
5 วิธีเสริมภูมิคุ้มกันลูกให้แข็งแรง เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนรู้ตลอดเวลา

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
  • /
  • 3 สัญญาณบอกว่า นมแม่ใกล้หมด หรือมีน้อยเกินไปแล้ว
แชร์ :
  • น้ำนมแม่ที่สต๊อกไว้ จะรู้ได้อย่างไรว่าเสีย ให้ลูกกินไม่ได้แล้ว

    น้ำนมแม่ที่สต๊อกไว้ จะรู้ได้อย่างไรว่าเสีย ให้ลูกกินไม่ได้แล้ว

  • จะรู้ได้ไงว่านมแม่จะหมดตอนไหน อาการแบบนี้แปลว่าน้ำนมแห้ง ใกล้หมดหรือเปล่า

    จะรู้ได้ไงว่านมแม่จะหมดตอนไหน อาการแบบนี้แปลว่าน้ำนมแห้ง ใกล้หมดหรือเปล่า

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • น้ำนมแม่ที่สต๊อกไว้ จะรู้ได้อย่างไรว่าเสีย ให้ลูกกินไม่ได้แล้ว

    น้ำนมแม่ที่สต๊อกไว้ จะรู้ได้อย่างไรว่าเสีย ให้ลูกกินไม่ได้แล้ว

  • จะรู้ได้ไงว่านมแม่จะหมดตอนไหน อาการแบบนี้แปลว่าน้ำนมแห้ง ใกล้หมดหรือเปล่า

    จะรู้ได้ไงว่านมแม่จะหมดตอนไหน อาการแบบนี้แปลว่าน้ำนมแห้ง ใกล้หมดหรือเปล่า

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ