X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

หนูไม่อยากไปโรงเรียน

บทความ 3 นาที
หนูไม่อยากไปโรงเรียน

นี่เป็นประโยคหนึ่งที่พ่อแม่หลายคนหน่าย แม้ว่าเด็ก ๆ ส่วนใหญ่จะรู้สึกเฉย ๆ หรืออยากไปโรงเรียน แต่ก็มีเด็ก ๆ บางส่วนที่งอแงไม่อยากไปโรงเรียน ถึงขั้นต้องลากเข้าประตูโรงเรียนกันเลยก็มี

ไม่อยากไปโรงเรียน เด็ก ลูก

เมื่อลูกไม่อยากไปโรงเรียน

โรงเรียนเป็นส่วนสำคัญของชีวิตเด็ก ๆ และถ้าพวกเขาไม่อยากไปโรงเรียน ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดตาม ก็อาจทำให้เกิดปัญหาได้ในหลาย ๆ ด้าน มีเหตุผลมากมายที่ทำให้เด็ก ๆ ไม่อยากไปโรงเรียน เช่น โดนรังแก รู้สึกไม่คุ้นเคย ไม่ปลอดภัย เบื่อ หรือบางครั้งอาจไม่มีเหตุผลแน่ชัด

ถ้าลูกคุณเคยไปโรงเรียนอย่างมีความสุข แล้วจู่ ๆ เกิดงอแงไม่อยากไปขึ้นมากระทันหัน เป็นไปได้ว่าอาจจะมีปัญหาอะไรบางอย่าง เด็กวัยประถมอาจไม่สามารถอธิบายต้นตอของปัญหาได้ ฉะนั้นคุณอาจจะต้องพยายามสืบหาเหตุผลด้วยตัวเอง เด็กบางคนอาจจะบอกคุณว่าเขาไม่อยากไปโรงเรียน แต่บางคนก็อาจจะเก็บไว้ในใจ พฤติกรรม เช่น ตีอกชกหัว นั่งนิ่ง ๆ ไม่ได้ ไม่มีสมาธิ และไม่ยอมทำตามที่คุณบอก เป็นสัญญาณหนึ่งที่บ่งบอกว่าเด็กอาจกำลังเครียด หรือมีปัญหาบางอย่าง ลองคุยกับคุณครูว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นที่โรงเรียนหรือไม่ หรืออาจมีสาเหตุมาจากการสูญเสียคนในครอบครัวหรือการหย่าร้าง

ทำยังไง?

อาจเป็นแค่ช่วงสั้นๆยังไม่ต้องทำอะไรมากในช่วงแรก

เด็กหลายคนอาจมีช่วงงอแง ไม่อยากไปโรงเรียนบ้างสองสามวัน โดยไม่ได้มีเหตุผลอะไรร้ายแรง คุณอาจจะปล่อยลูกไปบ้างโดยไม่ต้องสนใจอะไร ไม่ต้องทำเรื่องเล็กให้กลายเป็นเรื่องใหญ่

ถ้าเป็นปัญหารุนแรงเรื้อรังพยายามสืบจนรู้ต้นเหตุแน่ชัด

พยายามทำให้ลูกเล่าให้ฟังว่าเกิดอะไรขึ้น ในช่วงที่ทุกคนอารมณ์ดี ไม่ใช่บังคับให้ลูกพูดตอนที่กำลังจะไปโรงเรียนสาย และลูกกำลังร้องไห้ ถ้าลูกไม่ยอมพูดกับคุณ แกอาจจะพูดกับคนอื่น เช่นคุณปู่ คุณย่า คุณลุง คุณน้า หรือพี่เลี้ยง ลองให้คนอื่นช่วยถามดู เหตุผลส่วนใหญ่ที่เด็ก ๆ ไม่อยากไปโรงเรียน คือ โดนแกล้ง ทะเลาะกับเพื่อน ความเบื่อ เรียนไม่รู้เรื่อง และไม่ชอบคุณครู เด็กที่มีปัญหาเรื่องการได้ยิน หรือการมองเห็นก็อาจไม่ชอบโรงเรียนได้เหมือนกัน

บทความเกี่ยวข้อง: ทำอย่างไรเมื่อลูกอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้

Advertisement

คุยกับคุณครู

สอบถามคุณครูเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในโรงเรียน เช่น ลูกโดนรังแก ฯลฯ

ชี้แจงให้คุณครูฟัง

ถ้ามีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้นในบ้าน เช่น การหย่าร้าง หรือคนใกล้ตัวเสียชีวิต คุณควรชี้แจงให้คุณครูทราบ เพื่อที่คุณครูจะได้ช่วยสังเกตและดูแลลูกด้วยความเข้าใจ คุณควรบอกลูกเสมอว่าคุณหรือใครสักคนจะอยู่บ้าน หรือไปรับเขาที่โรงเรียน เพื่อให้เด็กรู้สึกปลอดภัยและไม่ว้าเหว่

บทความแนะนำ: ช่วยลูกตั้งเป้าหมายการเรียน

บทความใกล้เคียง: ข้อดีและข้อเสียของการให้ลูกเข้าโรงเรียนเตรียมอนุบาล

บทความแนะนำ: ไอเดียอาหารกล่องให้ลูกทานที่โรงเรียน

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • หนูไม่อยากไปโรงเรียน
แชร์ :
  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว