X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกนอนกรน หายใจแรง แบบนี้เป็นอะไรไหม ไม่ใช่เรื่องเล่นๆนะ

บทความ 3 นาที
ลูกนอนกรน หายใจแรง แบบนี้เป็นอะไรไหม ไม่ใช่เรื่องเล่นๆนะ

ทารกนอนกรน หายใจแรงแบบนี้เป็นเพราะอะไร ลูกนอนกรน หายใจแรง เป็นแบบนี้อะไรไหม แล้วเมื่อไหร่ควรพาลูกไปพบคุณหมอ

ลูกนอนกรน หายใจแรง เพราะอะไร

สาเหตุที่ ลูกนอนกรน หายใจแรง ก็เป็นเพราะว่า ช่องลมของลูกนั้นยังเล็กอยู่ในเด็กทารกแรกเกิดบางคนนั้น โครงสร้างของหลอดลมยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ จึงทำให้หลอดลมมาขวางอากาศที่หายใจ หรืออาจเป็นเพราะมีเมือกมาบังทางของอากาศที่ลูกหายใจ จนทำให้ลูกน้อยนอนกรน หรือหายใจแรงได้

ลูกนอนกรน หายใจแรง เป็นอะไรไหม

ในกรณีที่ทารกนอนกรน หายใจแรง แต่ถ้าลูกนอนหลับได้ปกติ ไม่กระสับกระส่าย ก็ไม่ต้องเป็นกังวลอะไรมาก แต่คุณพ่อคุณแม่ต้องคอยสังเกตการหายใจของลูกอยู่เสมอ หากลูกโตขึ้น ลูกก็จะเริ่มหายใจได้ดีขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งนั่นก็เป็นเพราะช่องอากาศของลูกจะค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น และลูกจะสามารถเรียนรู้วิธีกลืนน้ำลายได้ หากเสียงกรนเริ่มน้อยลง ก็แปลว่าไม่มีปัญหาอะไร

แต่ถ้าหากประมาณ 4-5 เดือนไปแล้ว ลูกยังนอนกรนเหมือนเดิม หรือนอนกรนดังขึ้น คุณพ่อคุณแม่ควรปรึกษาคุณหมอ ซึ่งบางครั้งก็อาจเป็นเพียงเพราะลูกเป็นหวัดหรือมีน้ำมูกเท่านั้น

ลูกนอนกรน หายใจแรง

ลูกนอนกรน หายใจแรง เป็นอะไรไหม

เมื่อไหร่ควรพาลูกไปพบคุณหมอ

เรื่องการหายใจของลูก เป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ไม่ควรมองข้าม หากพบอาการดังต่อไปนี้คุณพ่อคุณแม่ควรพาลูกไปพบคุณหมอโดยเร็ว

  • ลูกหายใจมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
  • ลูกกรนดังขึ้นเรื่อย ๆ หายใจดังขึ้นเรื่อย ๆ
  • หากลูกหายใจมีเสียงคล้ายเสียงคำรามท้ายลมหายใจทุกครั้ง
  • มีอาการที่ส่งผลต่อการหายใจ เช่น จมูกบานมาก
  • ไอเสียงแหลมสูงร่วมด้วย
  • กล้ามเนื้อหน้าอกหดตัวลึกกว่าปกติระหว่างหายใจ
  • หน้าผากมีรูปสามเหลี่ยมสีเขียว แสดงว่าเลือดมีระดับออกซิเจนไม่เพียงพอ
Advertisement

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ทำไมลูกเรามีรูเล็ก ๆ ข้างหู แบบนี้อันตรายร้ายแรงไหม ต้องดูแลอย่างไร

คัมภีร์ดูแลทารก เด็กแรกเกิดต้องดูแลแบบนี้นะ

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกนอนกรน หายใจแรง แบบนี้เป็นอะไรไหม ไม่ใช่เรื่องเล่นๆนะ
แชร์ :
  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว