X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พี่อิจฉาน้อง หวงแม่และกลัวถูกแย่งความรัก อาการเหล่านี้จัดการอย่างไร

บทความ 3 นาที
พี่อิจฉาน้อง หวงแม่และกลัวถูกแย่งความรัก อาการเหล่านี้จัดการอย่างไร

พี่อิจฉาน้อง ลูกเราจะเป็นไหม กำลังวางแผนที่จะมีลูกคนที่สองต้องทำยังไง แล้วถ้าตอนนี้ลูกคนโตกำลังเป็นอยู่ จะแก้อาการนี้ได้อย่างไร มาหาคำตอบกัน...

พี่อิจฉาน้อง จัดการอย่างไรดี

พี่อิจฉาน้อง เป็นอาการที่พบบ่อยมากกับลูกคนโตที่เมื่อก่อนเป็นคนที่ถูกเอาอกเอาใจ ทุกคนในบ้านต่างคอยโอ๋ พอเมื่อมีน้องทุกคนในบ้านหันไปสนใจน้องที่เพิ่งเกิดทำให้ที่คนโตเกิดอาการอิจฉาน้องตัวเอง เพราะคิดว่าไม่มีใครรักแล้ว

จริงๆ แล้วเตรียม ถ้าพ่อแม่คนไหนไม่อยากให้ลูกต้องกลายไปเป็นคนขี้อิจฉา ต้องวางแผนเริ่พูดคุยกับลูกน้อยตั้งแต่คุณแม่ตั้งท้องลูกคนที่ 2 ที่อยากให้บอกตั้งแต่เนิ่นๆ เพราะเด็กอาจจะยังไม่เข้าใจ โดยเฉพาะช่วงที่ท้องเริ่มขยายใหญ่โต เนื่องจากลูกน้อยจะเริ่มสงสัยว่าทำไใแใ่ไม่ยอมให้อุ้มเหมือนเดิม ทำไมไม่ให้นั่งตัก วิธีการที่ทำให้ลูกคนโตยอมรับน้องตั้งแต่ในท้อง มีดังนี้

  • ให้พี่คนโตได้จับท้องแม่ แล้วบอกว่าตอนนี้น้องอยู่ในท้องน่ะ
  • ให้พี่คนโตมีส่วนในการตั้งชื่อน้องในท้อง
  • ให้พี่มีส่วนร่วมในการจัดเตรียมเสื้อผ้า ของใช้เด็กอ่อนต่างๆ หรือแม้แต่จัดห้องใหม่ให้กับน้องด้วย
  • บอกว่าตอนน้องออกมาแล้ว น้องยังพูดไม่ได้นะ จะร้องไห้อย่างเดียวเลย
  • เอารูปของพี่สมัยเด็กๆ ให้ดู แล้วก็บอกว่าเมื่อก่อนก็เป็นแบบนี้ ตัวเล็กๆ ร้องไห้เก่งเหมือนกัน
  • พาลูกคนโตไปพบคุณหมอบ้าง ให้เขาได้เห็นน้องตัวเองจากอัลตร้าซาวน์
พี่อิจฉาน้อง

พี่อิจฉาน้องทำยังไง

สำหรับคุณแม่ที่คลอดน้องมาแล้ว ไม่ทันได้บอกหรือสอนลูกคนโตเกี่ยวกับน้อง พ่อแม่ควรมีวิธีการจัดการกับลูกน้อย ดังต่อไปนี้

Advertisement

1. ให้พี่ช่วยแม่เลี้ยงน้อง

ช่วงที่น้องคลอดมาใหม่ๆ แม่ต้องทุ่มเวลาเกือบทั้งหมดเพื่อดูแลลูกคนเล็ก ทำให้ไม่สามารถดูแลพี่คนโตได้อย่างเต็มที่ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้คนเป็นพี่เกิดอาการน้อยใจได้ ดังนั้น แม่จึงเรียกให้พี่มาช่วยในการเลี้ยงน้อย โดยเริ่มจากหยิบจับสิ่งของให้ เช่น ขวดนม ผ้าอ้อม เป็นต้น ให้ลูกได้รู้สึกว่ายังเป็นคนสำคัญอยู่นะ

2. มอบหมายหน้าที่เลี้ยงน้องให้พี่

การให้พี่ช่วยเลี้ยงน้องโดยที่พี่ต้องเป็นคนรับชอบเอง เช่น การเปลี่ยนผ้าอ้อม ป้อนข้าวน้อง จะทำให้พี่รู้สึกว่ามีความภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถช่วยพ่อกับแม่ได้ด้วย

3. อย่าเปรียบเทียบ

พ่อแม่ต้องเข้าใจว่าลูกแต่ละคนมีนิสัย ความชอบ หรือพฤติกรรมที่ไม่เหมือนกัน จะเอามาเปรียบเทียบไม่ได้ เพราะจะทำให้ลูกน้อยรู้สึกไม่ดีและจะโทษตัวเอง สุดท้ายก็ไปลงที่น้องและกลายเป็นคนที่เกลียดน้องไปในที่สุด

ลูกอิจฉาน้อง

ลูกอิจฉาน้อง

4. ต้องบอกให้น้องเคารพพี่

เมื่อน้องโตแล้วพ่อแม่ต้องคอยบอกให้น้องเคารพพี่บ้าง ไม่ใช่ว่าให้ทำตามใจตัวเองให้พี่ยอมให้ทุกอย่าง อยากจะเล่นอะไรอยากเอาอะไรก็ต้องตกลงกัน อย่าสอนลูกบอกว่าเป็นพี่ต้องเสียสละให้น้องอย่างเดียว แต่ต้องสอนให้รู้จักแบ่งปันกันมากกว่า

5. ควรปล่อยให้ลูกเล่นกัน

พ่อแม่บางคนเห็นว่าเวลาที่ลูกเล่นกัน ชอบทะเลาะกัน เถียงกันเสียงดังเป็นประจำจึงจับแยกไม่ให้ลูกน้อยเล่นด้วยกันเท่าไหร่ หากคิดแบบนั้นให้คิดใหม่ปล่อยให้ลูกได้เล่นด้วยกันได้เรียนรู้การใช้ชีวิตอยู่กับคนอื่น มิเช่นนั้นแล้วลูกจะกลายเป็นคนที่เขากับคนอื่นไม่ได้

6. อ่านหนังสือเกี่ยวกับพี่กับน้องให้ฟัง

เด็กบางคนเขาจะมีฮีโร่ของตัวเองหรือมีพฤติกรรมเลียนแบบ หากคุณพ่อคุณแม่ได้เล่านิทานให้ลูกฟังโดยมีตัวละครเดินเรื่องเกี่ยวกับพี่คนโตและน้องคนเล็กให้ฟัง เพื่อให้ลูกได้แง่คิดและเกิดการเลียนแบบจากตัวอย่างที่ดี

 

ที่มา: krooupdate

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

รู้หรือไม่…พฤติกรรมของลูกในแต่ละช่วงวัย เสี่ยงต่อการ เจ็บป่วย

18+ ข้องใจ… นมเล็ก น้ำนมน้อย จริงหรือ?

8 คำพูดที่ลูกอยากได้ยินจากพ่อแม่ รู้แล้วลองทำซะ!

บทความจากพันธมิตร
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • พี่อิจฉาน้อง หวงแม่และกลัวถูกแย่งความรัก อาการเหล่านี้จัดการอย่างไร
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว