X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

18+ ข้องใจ... หน้าอกเล็ก นมเล็ก จะมีน้ำนมน้อย จริงหรือ ?

บทความ 5 นาที
18+ ข้องใจ... หน้าอกเล็ก นมเล็ก จะมีน้ำนมน้อย จริงหรือ ?

เชื่อว่าคุณแม่คัพ A หลายคน แอบกังวลเรื่องขนาดของหน่มน๊ม...ต้องดูมเบอร์ไหนเจ้าตัวเล็กถึงจะอิ่ม หน้าอกแบนๆ ใช้เครื่องปั๊มนมช่วยได้หรือเปล่า น้ำนมน้อย ทำยังไงให้มีสต็อกเยอะๆ สารพัดคำถามชวนข้องใจของแม่ลูกอ่อนไซส์มินิ มาหาคำตอบพร้อมๆ กันเลย!

คุณแม่คัพ A กังวลเรื่องขนาด นมเล็ก นม เล็ก ๆ ต้องดูมเบอร์ไหนเจ้าตัวเล็กถึงจะอิ่ม หน้าอกแบนใช้เครื่องปั๊มนมช่วยได้หรือเปล่า นมเล็ก นมเล็ก ๆ น้ำนมน้อย จริงหรือ ทำยังไงให้มีสต็อกเยอะ

 

น้ำนมน้อย นมเล็ก เกิดจากอะไรกันแน่?

ก่อนอื่นคุณแม่ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับที่มาที่ไปของน้ำนมสักหน่อยค่ะ ช่วงเวลาการผลิตน้ำนม อาหารแสนวิเศษของลูกน้อยนั้น แบ่งเป็น 3 ช่วงด้วยกัน

  • Lactogenesis I ช่วงสัปดาห์ที่ 16-22 ของการตั้งครรภ์ ร่างกายจะเริ่มผลิต Colostrum (หัวน้ำนม) ขึ้นมาเล็กน้อย
  • Lactogenesis II หลังจากคลอดลูก 30-40 ชม. ร่างกายจะถูกกระตุ้นให้สร้างน้ำนมในปริมาณมากขึ้นๆ คุณแม่จะรู้สึกว่าน้ำนมมาแล้ว หลังจากคลอดไปได้ 2-3 วัน
  • Lactogenesis III ร่างกายจะหยุดการสร้างน้ำนมเองตามธรรมชาติ แต่จะผลิตขึ้นมาก็ต่อเมื่อมีการนำน้ำนมออกไป จากการดูดของลูก บีบด้วยมือ หรือปั๊มด้วยเครื่อง

 

ยิ่งนำน้ำนมออกไปมากเท่าไร กลไกในร่างกายก็จะยิ่งผลิตกลับคืนได้มากเท่านั้น รู้อย่างนี้แล้ว…อย่าปล่อยให้เวลานาทีทองของแม่หลุดลอยไปเด็ดขาด! แม้ 2-3 วันแรกแม่ยังอ่อนเพลียจากการคลอด ลองอาศัยจังหวะลูกหลับปุ๋ย ใช้มือบีบหรือเครื่องปั๊มประสิทธิภาพดีๆ ช่วยนำน้ำนมออกให้มากที่สุด มันอาจจะเจ็บปวด ทรมานในช่วงแรก แต่หลังจากน้ำนมพุ่งปรี๊ดดีแล้ว ชีวิตจะดีขึ้นทั้งคุณแม่และคุณลูกเลยล่ะค่ะ

บทความที่เกี่ยวข้อง นม หรือ น้ำนม ประโยชน์ของนมมีอะไรบ้าง นมแพะมีประโยชน์อย่างไร

นมเล็ก นมพึ่งขึ้น

นมเล็ก นมพึ่งขึ้น แม่นมเล็ก ๆ น้ำนมจะน้อยจริงหรือ

ขนาดคัพ เล็กใหญ่ นมเล็ก ไม่ใช่ปัญหา น้ำนมน้อย

เต้านมขนาดใหญ่มีส่วนช่วย “กักเก็บน้ำนม” ไว้ในปริมาณมากกว่าเต้านมขนาดเล็ก แต่ไม่ได้มีผลต่อการประสิทธิภาพในการผลิตน้ำนมแต่อย่างใดค่ะ ขนาดหน้าอกเล็กมีข้อได้เปรียบตรงที่น้ำนมเต็มเต้าไวกว่า ยิ่งแม่ขยันระบายน้ำนมออกบ่อยๆ เต้าพร่องปุ๊บ น้ำนมผลิตขึ้นมาใหม่เพื่อเติมพื้นที่ว่างในเต้านมให้เต็ม ผลิตอยู่ตลอดๆ แบบนี้ มีน้ำนมเหลือเฟือแน่นอน! สิ่งที่คุณแม่ต้องทำก็คือ

  • ให้นมลูกทุกครั้งที่ลูกหิว (ช่วงแรกอาจให้นมถี่ทุก 2-3 ชั่วโมง)
  • พยายามให้ลูกดูดนมอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • ระหว่างให้นมลูก ใช้มือบีบนวดเต้านมช่วยอีกทาง
  • พยายามให้ลูกได้ดูดเต้านมทั้งสองข้างในแต่ละมื้อ
  • ถ้าลูกอิ่มแล้วยังไม่หมดเต้า ให้บีบหรือปั๊มนมออกอีกให้เหลือน้อยที่สุด
  • ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง เน้นสมุนไพร ผัก ผลไม้ ที่ช่วยเพิ่มน้ำนม
  • หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ โกโก้ โคล่า แอลกอฮอลล์ เพราะส่งผลต่อคุณภาพน้ำนม

 

น้ำนมน้อย

น้ำนมน้อย ก็ปั๊มเต็มขวดได้นะ

 

น้ำนมน้อย นมพึ่งขึ้น

เครื่องปั๊มนม ตัวช่วยของคุณแม่

 

การนำน้ำนมออก สามารถทำได้โดยไม่ต้องรอให้น้ำนมสะสมจนเต็มเต้านะคะ เพราะการเว้นช่วงห่างระหว่างมื้อนมหรือเว้นช่วงปั๊มนานๆ จะทำให้การผลิตน้ำนมน้อยลงเรื่อยๆ แม้เจ้าตัวเล็กยังไม่ร้องโยเยหิวนมก็ไม่เป็นไร น้ำนมที่นำออกมาไม่สูญเปล่าแน่นอน สามารถเก็บไว้เป็นสต็อกให้ลูกหม่ำในวันข้างหน้าได้นานอีกหลายเดือน โดยเฉพาะในวันที่ต้องกลับไปทำงาน Full Time เตรียมนมให้แน่นตู้! ลูกน้อยก็จะอิ่มพุง หลับสบ๊าย…สบาย ดังนั้น คุณแม่ควรพกเครื่องปั๊มนมเอาไว้ใกล้ๆ ตัว แล้วปั๊มให้บ่อยเท่าที่จะทำได้นะคะ

 

“ เครื่องปั๊มนมที่ผลิตด้วยวัสดุคุณภาพต่ำ

อาจทำให้รู้สึกเจ็บ และไม่ประสบความสำเร็จในการปั๊มนม

คุณแม่จึงควรเลือกเครื่องปั๊มนมเกรดโรงพยาบาลเป็นหลัก

กรวยแนบสนิทกับเต้านม นุ่ม และยืดหยุ่นได้ดี ”

 

แนะนำให้คุณแม่เลือกกรวยที่ทำจากซิลิโคนแท้ 100% ที่ผ่านการรับรอง FDA และปลอดสารก่อมะเร็ง จาก Attitude mom ไม่ว่าจะไซส์เล็กหรือใหญ่ กรวยซิลิโคนพิเศษนี้จะแนบสนิทติดกับฐานเต้านม แถมยังนุ่มนิ่ม กระชับพอดี เวลาคุณแม่เอนหลังพิงหมอน 45 องศา กรวยซิลิโคนก็จะปรับยืดหยุ่นได้ ทำให้การปั๊มนมกลายเป็นเรื่องชิลล์ๆ ไปเลย

 

นมเล็ก นมพึ่งขึ้น

นมเล็ก นมพึ่งขึ้น แม่นมเล็ก ๆ น้ำนมจะน้อยจริงหรือ

Attitude mom รุ่น Galaxy Double electric breast pump

 

นมเล็ก

นมเล็ก แม่นมเล็ก ๆ น้ำนมจะน้อยจริงหรือ

Attitude mom รุ่น All in Mom (Durable)

 

เครื่องปั๊มนม Attitude mom มี 2 รุ่นให้เลือกคือ All in Mom (Durable) และ Galaxy Double electric breast pump (แยกการทำงานซ้ายขวาอย่างอิสระ) ทั้งสองแบบมาพร้อมโหมดการทำงานสุดอัจฉริยะ ช่วยกระตุ้นเต้านม บรรเทาอาการคัดตึง ปั๊มไปจี๊ดไป น้ำนมพุ่งอย่างที่ต้องการ

 

Tip! เทคนิคสำหรับคุณแม่หลังคลอดที่ร่างกายยังผลิตน้ำนมน้อย ให้ใช้โหมด Massage 15 นาที ต่อด้วยโหมด 2in1 อีก 15 นาที ส่วนคุณแม่คนไหนปล่อยนมค้างเต้านานหลายชั่วโมงก็สามารถใช้โหมด Double Frequency รีดน้ำนมให้เกลี้ยงเต้ามากขึ้น โหมดนี้ยังป้องกันไม่ให้เต้านมอักเสบอีกด้วยนะคะ

 

การเริ่มต้นปั๊มนมแต่ละข้างใช้เวลา 10-15 นาที จนเมื่อปริมาณน้ำนมเพิ่มขึ้นแล้วค่อยปั๊มให้นานขึ้น และบ่อยเท่าที่จะทำได้ ยิ่งปั๊มพร้อมกัน 2 ข้าง ก็ยิ่งทำให้น้ำนมออกได้ดีขึ้นด้วย ไม่ต้องหนักใจกับปัญหา น้ำนมน้อย อีกแล้วนะ ขอเป็นกำลังใจให้คุณแม่นักปั๊มทุกคน มีน้ำนมพุ่ง สต็อกแน่นสมใจค่ะ

 

บทความที่เกี่ยวข้อง :

หัวนมแตกป้องกันได้ ครีมทาหัวนมแตก ครีมทาแก้หัวนมแตก

10 ท่าออกกำลังกายให้นมใหญ่ ตู้มแบบไม่ต้องศัล อยากนมใหญ่ทำไง มาดู

วิธีป้องกันหน้าอกหย่อนคล้อย หลังลูกน้อยหย่านม

 

ที่มา : si.mahidol

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • 18+ ข้องใจ... หน้าอกเล็ก นมเล็ก จะมีน้ำนมน้อย จริงหรือ ?
แชร์ :
  • กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

    กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

    กระตุ้นปากมดลูก กี่วันคลอด วิธีไหนทำให้ปากมดลูกเปิดไวๆ

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว