TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทารกหัวโต เกิดจาก สาเหตุอะไร ลูกหัวโต เสี่ยงเป็นโรคนะรู้ไหมแม่

บทความ 3 นาที
ทารกหัวโต เกิดจาก สาเหตุอะไร ลูกหัวโต เสี่ยงเป็นโรคนะรู้ไหมแม่

ทารกหัวโต เกิดจาก สาเหตุอะไร

เด็กหัวโต ทารกหัวโต เกิดจาก สาเหตุอะไร ลูกหัวโตแบบไหน เสี่ยงเป็นโรค พ่อแม่ต้องรู้!

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน อธิบายว่า ศีรษะเด็กจะขยายขนาดเร็วมากที่สุดในช่วงขวบปีแรก โดยเฉพาะที่อายุ 3-6 เดือน หลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้นช้าลง และไม่เพิ่มขึ้นอีกเมื่อเป็นผู้ใหญ่

  • เด็กผู้ชายจะมีเส้นรอบศีรษะมากกว่าเด็กผู้หญิงเล็กน้อยในช่วงวัยต่าง ๆ
  • ในครอบครัวที่พ่อแม่มีศีรษะโต โดยไม่ได้มีภาวะที่ผิดปกติใด ๆ ก็จะทำให้ลูกมีศีรษะโตกว่าค่าเฉลี่ยเด็กทั่วไป

 

วิธีวัดเส้นรอบศีรษะตั้งแต่แรกเกิด

  • คุณหมอจะวัดจากส่วนที่นูนที่สุดเหนือคิ้ว ไปยังส่วนที่นูนที่สุดของท้ายทอย วัดตั้งแต่แรกเกิด และเมื่อทารกอายุ 1, 2, 4, 6, 9, และ 12 เดือน
  • หรือตอนมารับวัคซีนตามอายุ โดยเฉลี่ยจะทำการวัดทุก ๆ 2-3 เดือน ในขวบปีแรก และทุกๆครึ่งปี ไปจนอายุ 6 ปี

 

ทารกหัวโต เกิดจากอะไร

สาเหตุที่ทำให้ศีรษะโตผิดปกติจากโรค หรือความปกติอื่น ๆ ของสมอง เช่น

  • เนื้องอกในสมอง
  • น้ำในสมอง
  • เลือดออกในสมอง
  • เด็กหัวบาตร
  • กลุ่มอาการความผิดปกติต่าง ๆ ที่มีผลต่อสมอง

 

หากคุณหมอวัดเส้นรอบศีรษะแล้วพบว่ามากกว่าค่าเฉลี่ยอย่างชัดเจน จะทำการตรวจร่างกายเด็กโดยละเอียด

  • เน้นที่การตรวจระบบประสาท เพื่อหาความผิดปกติของสมอง ประเมินพัฒนาการ
  • หากสงสัยความผิดปกติ คุณหมอจะขอตรวจพิเศษเพิ่มเติม เช่น ultrasound, CT scan, MRI เพื่อหาความผิดปกติของสมอง

 

ทั้งนี้ แม่ ๆ ต้องสังเกตอาการผิดปกติของระบบประสาท หากมีอาการเหล่านี้ ต้องรีบพาลูกมาโรงพยาบาล

  1. ซึมผิดปกติ
  2. อาเจียนพุ่ง
  3. ความผิดปกติของลูกตาและการมองเห็น เช่น ตามัว เห็นภาพซ้อน

 

ความฉลาดไม่ได้ขึ้้นอยู่กับขนาดของหัวลูก

คุณหมอยังยืนยันด้วยว่า ขนาดศีรษะที่ใหญ่ของทารก หรือลูกหัวโต ไม่ได้เป็นตัวบ่งชี้ว่า เด็กจะมีสมองเยอะและฉลาดกว่าคนอื่น เพราะความฉลาดขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการทำงานของสมอง เป็นเรื่องของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

 

พ่อแม่ต้องส่งเสริมพัฒนาการตามวัย ให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อให้ลูกเติบโตอย่างฉลาดนะคะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

ทารกควรนอนท่าไหน ปลอดภัย ไม่ไหลตาย

ไม่อยากให้ลูกพิการ ตั้งแต่ยังไม่คลอด แม่ท้องต้องเลี่ยง 5 เรื่องนี้

วิธีสังเกตอาการ ลูกสำลักนม ก่อนอันตรายถึงตาย พร้อมวิธีป้องกันไม่ให้ลูกสำลักนม

 

บทความจากพันธมิตร
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ทารกหัวโต เกิดจาก สาเหตุอะไร ลูกหัวโต เสี่ยงเป็นโรคนะรู้ไหมแม่
แชร์ :
  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

powered by
  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว