X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ ถ้ารักลูกต้องระวัง

บทความ 5 นาที
กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ ถ้ารักลูกต้องระวัง

กิจกรรมที่วิจัยแล้วว่าจะส่งผลเสียกับสมองของเด็ก สมองของเด็กๆ ใน 2 ปีแรกของชีวิตจะเติบโตอย่างน่าเหลือเชื่อ และใหญ่ขึ้นเป็น 3 เท่าของขนาดสมองตอนแรกเกิด

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ : สมองของเด็ก ๆ ใน 2 ปีแรกของชีวิต จะเติบโตอย่างน่าเหลือเชื่อ และใหญ่ขึ้นเป็น 3 เท่าของขนาดสมองตอนแรกเกิด ซึ่งพัฒนาการในช่วงนี้นั้นเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดของชีวิตมนุษย์แล้วละค่ะ หากสมองของเด็ก ๆ ได้รับการกระตุ้นน้อยเกินไป หรือมากเกินไป ก็จะส่งผลไปตลอดชีวิต ของเขาเลยนะคะ

กุมารแพทย์และนักวิจัยเผยให้เห็นการทำงานระหว่าง สมองของเด็กปกติ และเด็กกำพร้า ซึ่งความแตกต่างนั้นส่งผลชัดเจนค่ะ เด็กที่ได้รับการกระตุ้นน้อยจะมีพื้นที่ในสมองที่ไม่ได้ใช้งานเป็นจำนวนมาก และสำหรับการกระตุ้นที่เยอะมากเกินไปล่ะ คำตอบเป็นอย่างนี้ค่ะ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

กิจกรรม ที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

ดูทีวี สมองฝ่อ จริงเหรอ ?

ไม่ถึงกับฝ่อ แต่การให้เด็กๆ ดูทีวี ยูทูป หรือภาพเคลื่อนไหวใด ๆ ก็ตาม ที่เปลี่ยนเร็วมากเกินไป ก่อนช่วงอายุ 3 ขวบนั้น จะทำให้มีปัญหาทางด้านสมาธิเมื่อเทียบกับเด็ก ๆ ที่ไม่ได้ดูภาพเหล่านี้เลย การดูทีวีเพียง 2 ชั่วโมงต่อวัน ก็สามารถทำให้เด็กมีปัญหาสมาธิได้มากขึ้นถึง 20% แล้วละค่ะ

นอกจากเรื่องเวลาที่เด็ก ๆ ใช้ดูทีวีแล้ว เรื่องของเนื้อหาในนั้นก็เป็นส่วนสำคัญค่ะ รายการเด็กอย่าง Baby Einstein หรือรายการที่ทำมาสำหรับเด็ก ๆ โดยเฉพาะ บางรายการก็ไม่ได้สร้างมาเพื่อพัฒนาสมองของเด็ก ๆ อย่างแท้จริงค่ะ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

กิจกรรม ที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

Advertisement

ผลกระทบไม่ใช่เด็ก ๆ เท่านั้น

ทีมนักวิจัยที่ทำการสังเกตุการณ์พบว่า การที่เด็ก ๆ รับสารจากภาพและเสียง ทำให้เกิดการกระตุ้นของสมองที่มากเกินไป เวลาการนอนหลับที่ดึกไป และระบบประสาทที่ตื่นตัว จะทำให้อาการโดยรวมนั้นเกิดภาวะของ electronic screen syndrome ซึ่งจะทำให้เด็ก ๆ อารมณ์ไม่ดี และมีปัญหาด้านสมาธิซึ่งเป็นผลมาจากการสร้างความเสียหายของสมองนั่นเองค่ะ

ซึ่งปรากฎการณ์ของสื่อดิจิตอลที่ทำให้เกิดการติดสื่อดิจิตอลในผู้ใหญ่ จะไม่ร้ายแรงเท่ากับที่เกิดขึ้นในเด็ก ๆ เนื่องจากสมองของผู้ใหญ่นั้นพัฒนาเต็มที่แล้ว จึงรู้ว่าเมื่อไหร่ควรจะหยุด กลับกันกับสมองของเด็ก ๆ เนื่องจากสมองของเด็ก ๆ ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จึงไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ควรพัก เมื่อไหร่ควรหยุด

อย่าเพิ่งโทษพ่อแม่

อย่าเอาผลการวิจัยที่เกิดขึ้นเป็นแนวทางเพื่อที่จะตัดสินคุณพ่อคุณแม่ที่เลี้ยงลูกติดหน้าจอค่ะ งานวิจัยนั้นเกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางแก้ไข หาสาเหตุที่แท้จริง เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด หากไม่รู้แนวทางที่ไม่ดี เราจะไม่สามารถหาแนวทางที่ดีที่สุดได้นั่นเองค่ะ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

มือถือ แทปเล็ต คอมพิวเตอร์

อุปกรณ์เหล่านี้ ไม่เหมือนทีวีค่ะ เนื่องจาก เราต้องการมีตอบสนอง และโต้ตอบไปมา (interactive) แต่ก็ยังต้องใช้ในเวลาที่เหมาะสมอยู่ดี นั่นหมายถึงต้องหลัง 2 ขวบขึ้นไป และ ใช้เพียงแค่ 30-60 นาทีต่อวันเท่านั้นค่ะ

อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ต่าง ๆ นั้น เป็นเพียงการจำลองการเล่นของเล่นเด็ก จำพวก การต่อบล็อก เปิดไพ่จับคู่ การ์ดคำศัพท์ต่าง ๆ ทำให้ของเล่นเหล่านี้สะดวกมากขึ้น และต้องอยู่ในการดูแลของคุณพ่อคุณแม่ด้วยเช่นกันค่ะ

กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

กิจกรรม ที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ

ให้ลูกเจอประสบการณ์จริงดีที่สุด

พาลูก ๆ ไปข้างนอก ไปเจอสิ่งต่าง ๆ สลับกับการอยู่ในบ้านบ้าง เพื่อลดความเสี่ยง ในการเป็นโรคอ้วนด้วยนะคะ ทั้งนี้การเล่นนอกบ้านยังเป็นการช่วยเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกายจากวิตามินดีที่ได้จากแสงแดด และการออกกำลังกายทั้งกล้ามเนื้อมัดเล็ก และมัดใหญ่ ช่วยให้เด็ก ๆ เข้าสังคมกับคนอื่นได้จากการเล่นกับเด็ก ๆ หรือคนอื่น ๆ ค่ะ

น้อง เบฬิน

น้อง เบฬิน

ความคิดเห็นของคุณคืออะไร

ที่มา :rehab.redcross

 

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

 

บทความจากพันธมิตร
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

ผู้เชี่ยวชาญ: การดูทีวี ไม่ใช่ต้นเหตุทำให้เด็กพฤติกรรมแย่

ลูกขี้อาย เข้าสังคมไม่ได้ แม่ต้องปรับวิธีเลี้ยง

ลูกคิด สุดยอดเครื่องมือพัฒนาความคิด และสมาธิสำหรับเด็ก

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • กิจกรรมที่ทำแล้วลูกสมองฝ่อ ถ้ารักลูกต้องระวัง
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว