X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เด็กทารกแรกเกิดหัวบวมโน ปกติหรือไม่?

บทความ 3 นาที
เด็กทารกแรกเกิดหัวบวมโน ปกติหรือไม่?เด็กทารกแรกเกิดหัวบวมโน ปกติหรือไม่?

บางครั้งเด็กทารกแรกเกิดก็คลอดมาด้วยหัวบวมหรือโต แดง หรือมีรูปร่างผิดไปจากปกติ สิ่งนี้เป็นเรื่องธรรมดารึไม่? สาเหตุที่ทำให้ลูกหัวบวมหลังเกิดมาคืออะไร?

เด็กทารกแรกเกิดหัวบวมผิดรูป น่ากังวลหรือไม่

โดยทั่วไปแล้ว นับเป็นเรื่องน่าตกใจพอควรสำหรับคุณพ่อคุณแม่ที่เห็นส่วนหัวของลูกแรกเกิดของตัวเองทันทีหลังคลอดนั้นมีลักษณะผิดปกติและบวมโน แต่โชคดีที่ว่า อาการบวมเหล่านี้จะหายไปเองหลังจากนั้น

สาเหตุสำหรับอาการหัวโนดังกล่าวมีดังนี้

1) ส่วนหัวของลูกเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย ส่วนหัวของลูกต้องถูกบีบรัดผ่านช่องคลอดดังนั้นจึงต้องผ่าน “การขึ้นรูป” ซึ่งเป็นกระบวนการที่กระดูกของกะโหลกอาจถูกบีบอัดชั่วคราวทำให้หัวมีลักษณะผิดปกติ

2) หากกระบวนการให้กำเนิดยาวนาน ของเหลวจำนวนมากก็ไปสะสมที่ส่วนหัวของเด็กเนื่องจากเป็นส่วนที่พึ่งพิงได้มากที่สุดของร่างกายเด็ก การสะสมของเหลวส่วนเกินเหล่านี้ที่หัวเรียกว่า caput แต่จะหายไปเองใน 1-2 วันหลังคลอด

บทความจากพันธมิตร
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ

3) สำหรับเด็กบางคนอาจเกิดเลือดออกใต้ผิวหนังศีรษะนอกส่วนกะโหลก เรียกว่า cephalohematoma ซึ่งอาจทำให้เกิดการหัวบวมโนที่ด้านข้างของหัวได้ อย่างไรก็ตาม อาการนี้จะใช้เวลาเป็นเดือนกว่าจะหายไปได้ หากคุณแม่คลอดผ่านทางช่องคลอดโดยอาศัยเครื่องมือช่วย เด็กอาจมีอาการบวมโนอื่น ๆ ที่เกิดจากการใช้เครื่องมือ เช่น เครื่องดูด หรือคีมทำคลอด

มีโอกาสน้อยมากที่เด็กมีพัฒนาการกระดูกผิดปกติที่ส่วนกะโหลกซึ่งทำให้เกิดการเจริญเติบโตของกะโหลกผิดปกติ วิธีแก้ไขคือต้องอาศัยการรักษาด้วยการผ่าตัด กุมารแพทย์ผู้ตรวจเด็กหลังคลอดจะเป็นผู้ที่ดีที่สุดที่จะอธิบายสาเหตุต่าง ๆ ที่ทำให้เด็กมีอาการหัวบวมโนได้

วิธีดูแลเด็กแรกเกิด

เกิดอะไรขึ้นกับเด็กแรกเกิดในสัปดาห์แรกหลังคลอด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เด็กทารกแรกเกิดหัวบวมโน ปกติหรือไม่?
แชร์ :
  • จุ๊ดจู๋ลูกน้อยชี้โด่บ่อยๆ ปกติหรือไม่นะ

    จุ๊ดจู๋ลูกน้อยชี้โด่บ่อยๆ ปกติหรือไม่นะ

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 34 น้ำนมสีเหลือง คืออะไร ?

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 34 น้ำนมสีเหลือง คืออะไร ?

  • 15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

    15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

  • 51 ชื่อลูกจาก นางในวรรณคดีไทย ไอเดียตั้งชื่อลูกสาว สุดไพเราะ สวยงาม

    51 ชื่อลูกจาก นางในวรรณคดีไทย ไอเดียตั้งชื่อลูกสาว สุดไพเราะ สวยงาม

app info
get app banner
  • จุ๊ดจู๋ลูกน้อยชี้โด่บ่อยๆ ปกติหรือไม่นะ

    จุ๊ดจู๋ลูกน้อยชี้โด่บ่อยๆ ปกติหรือไม่นะ

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 34 น้ำนมสีเหลือง คืออะไร ?

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 34 น้ำนมสีเหลือง คืออะไร ?

  • 15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

    15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

  • 51 ชื่อลูกจาก นางในวรรณคดีไทย ไอเดียตั้งชื่อลูกสาว สุดไพเราะ สวยงาม

    51 ชื่อลูกจาก นางในวรรณคดีไทย ไอเดียตั้งชื่อลูกสาว สุดไพเราะ สวยงาม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ