X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เจ้าหนูนิสัยเลือกกิน อาจจะมาจากยีนไม่ใช่การเลี้ยงดู

บทความ 3 นาที
เจ้าหนูนิสัยเลือกกิน อาจจะมาจากยีนไม่ใช่การเลี้ยงดูเจ้าหนูนิสัยเลือกกิน อาจจะมาจากยีนไม่ใช่การเลี้ยงดู

เคยสงสัยกันไหมว่า ลูกเป็นเด็กช่างเลือก โดยเฉพาะการเลือกกิน กินแต่อาหารเดิมๆ ไม่กล้าลองกินของใหม่ๆ นิสัยนี้ ได้มาจากคุณพ่อหรือคุณแม่ หรือจริงๆ แล้ว มาจากยีนส์กันแน่

ผลวิจัยการทำเฝ้าดูเก็บข้อมูลพฤติกรรมการกินอาหาร ของเด็กแฝดแท้ หรือ แฝดที่มาจากไข่ใบเดียวกัน กับ แฝดที่มาจากไข่คนละใบ จำนวน 1,932 คู่ พบว่าเด็กๆ จะเริ่มมีอาการเลือกกินตั้งแต่อายุ 16 เดือน หรือประมาณ 1 ขวบ 4 เดือน ส่งผลทำให้ปัญหาของเด็กแฝดส่วนใหญ่คือ น้ำหนักตกเกณฑ์

แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเด็กๆ จะมีนิสัยเลือกกิน หรือไม่ชอบลองของกินใหม่ๆ แต่ปัจจัยที่คุณพ่อคุณแม่สามารถสร้างขึ้น เพื่อเสริมให้ลูกอยากกินมากขึ้นคือ การสร้างสภาพแวดล้อมค่ะ

shutterstock_300433304

Tips เมื่อลูกช่างเลือกกินเสียเหลือเกิน

  • ให้ลูกลองชิ้นเล็กๆ หรือทีละน้อยก่อน ไม่ชอบไม่เป็นไร เพียงให้รู้รสชาติ
  • ถ้าลูกไม่อยากกิน อย่าบังคับให้กินค่ะ แค่เก็บออกมา อย่าพูดอย่าบ่น อย่าแสดงความคิดเห็นใดๆ ทั้งสิ้น รู้ว่ายากนะคะ แต่คุณพ่อคุณแม่ต้องใจแข็ง
  • อย่าปล่อยให้ลูกหิวมากเกินไป หรือกินเพราะไม่มีอะไรจะกิน โดยที่เขาไม่เต็มใจค่ะ เพราะว่าเขายอมกินจริงๆ แต่ลูกจะไม่ได้รู้สึกดีกับอาหารที่เขากินเลย มันเป็นการบังคับทางอ้อมที่ไม่เกิดผลดีค่ะ
  • เด็กๆ มักจะกินช้าอยู่แล้ว ใจเย็นๆ ไว้นะคะ
  • อย่าใช้อาหารหรือขนมเป็นรางวัล มันเป็นการสร้างค่านิยมว่า ขนมหรือลูกอมคือสิ่งที่ดี และผักผลไม้คือสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่บังคับให้กิน
  • เด็กบางคนไม่ชอบรูปร่างและสีของผักผลไม้ค่ะ คุณพ่อคุณแม่อาจจะเลี่ยงโดยการแปรรูปอาหารให้หน้าตาแตกต่างไปจากเดิม เช่น เอามาบดแล้วปั้นเป็นก้อนเหมือนลูกชิ้น หรือชุปแป้งทอด

อย่างไรก็ตามเรื่องกินของเด็กๆ ไม่ใช่เรื่องง่ายค่ะ ยิ่งลูกเป็นเด็กที่น้ำหนักตกเกณฑ์ กินเท่าแมวดม แล้วยังจะเลือกกินอีก คนเป็นพ่อแม่เสียเวลาทำอาหารให้ลูกกิน แต่ลูกกินแค่คำเดียวแล้วเมิน คุณพ่อคุณแมวก็เฟลได้เหมือนกัน แต่เชื่อเถอะค่ะว่า ไม่นานหรอกที่คุณพ่อคุณแม่จะค้นเจอว่าจริงๆ แล้วอาหารแบบไหนที่ถูกจริตลูก ซึ่งหากลูกเลิกมีอาการเลือกกินแล้ว สิ่งที่ต้องกังวลต่อก็คือ เมื่อไหร่ลูกจะหยุดกินเสียที

ที่มา NHS.uk

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ชอบทานอาหารขยะ

5 วิธีแก้ปัญหาลูกกินยากที่คุณแม่ฉลาดเตรียมให้

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เจ้าหนูนิสัยเลือกกิน อาจจะมาจากยีนไม่ใช่การเลี้ยงดู
แชร์ :
  • เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินน้อย

    เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินน้อย

  • ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

    ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินน้อย

    เด็กที่มีนิสัยเลือกกิน: ลูกกินน้อย

  • ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

    ทำไมเด็กชอบกิน อาหารขยะ และอาหารฟาสต์ฟู้ด เด็กมีนิสัยเลือกทานหรือไม่

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ