X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
Product Guide
เข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง สาเหตุและอาการ วิธีดูแลตัวเองเมื่อมีอาการใกล้คลอด

บทความ 5 นาที
เจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง สาเหตุและอาการ วิธีดูแลตัวเองเมื่อมีอาการใกล้คลอด

เจ็บครรภ์เตือนต่างจากเจ็บครรภ์จริงอย่างไร และวิธีดูแลตัวเองเมื่อท้องแข็ง

สาเหตุและอาการ เจ็บครรภ์เตือน อาการเจ็บครรภ์จริง การเจ็บท้องเตือนกับเจ็บท้องคลอด ต่างกันอย่างไร วิธีดูแลตัวเองเมื่อท้องแข็ง

 

เจ็บครรภ์เตือน 4

เจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง เจ็บ ครรภ์ เตือน สาเหตุและอาการ เจ็บครรภ์เตือน เป็นยังไง

เจ็บครรภ์เตือน VS เจ็บครรภ์จริง

อ.พญ.วิรดา ดุลยพัชร์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ความรู้เรื่องการเจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง และอาการท้องแข็ง ว่า

บทความที่เกี่ยวข้อง : อาการปวดท้องคลอดลูกเป็นอย่างไร อาการใกล้คลอด เจ็บท้องจริง เจ็บท้องหลอก

 

เจ็บครรภ์จริง

อาการเจ็บท้องจริงนั้น เกิดจากการบีบตัวของมดลูก ที่ได้เตรียมพร้อมสำหรับการคลอดแล้ว โดยจะมีอาการแบบไม่ตายตัว จะแตกต่างกันออกไปในแต่ละคนนั้นเอง ซึ่งอาการที่เจ็บท้องจริงมักจะพบบ่อย ๆ ก็คือ ปวดท้องตื้อ ๆ บริเวณหลัง และท้องส่วนล่าง คุณแม่บางรายนั้นอาจจะมีอาการปวดบริเวณแถว ๆ ข้างลำตัว และต้นขา และอาการปวดจะคล้าย ๆ กับอาการปวดประจำเดือน หรือท้องเสีย แต่จะมีความรุนแรงมากกว่านั้นเอง ทั้งนี้ อาการเจ็บท้องจริงจะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ และจะมีความถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งอาการจะค่อย ๆ รุนแรงขึ้นตามการบีบตัวของมดลูก

สาเหตุการเจ็บครรภ์จริง

  • มดลูกหดรัดตัวเพื่อเข้าสู่ระยะคลอด

อาการเจ็บครรภ์จริง

  • อาการเจ็บครรภ์จริงจะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ อาจปวดหลังใกล้บั้นเอวร้าวมาบริเวณที่หน้าท้องได้
  • ระยะห่างของอาการเจ็บครรภ์จริงจะค่อย ๆ ถี่ขึ้น เช่น อาการเจ็บครรภ์ทุก ๆ 15 นาที เป็นทุก ๆ 5-10 นาที
  • ความรุนแรงของอาการเจ็บท้องเพิ่มมากขึ้น เจ็บท้องนานขึ้น จากที่เจ็บท้อง 15-20 วินาที เป็นเจ็บท้องนาน 45-50 วินาที
  • มีมูกหรือมูกปนเลือดไหลออกจากช่องคลอด
  • อาการเจ็บครรภ์จริงจะเจ็บเรื่อย ๆ ไม่หายไป ควรรีบไปพบแพทย์หรือไปโรงพยาบาลทันที
  • เมื่อแพทย์ตรวจภายในจะพบว่า ปากมดลูกมีการเปิดขยายและคอมดลูกมีความบางลง

 

เจ็บครรภ์เตือน อาการเจ็บครรภ์จริง

อาการเจ็บท้องเตือนนั้น จะเกิดจากการที่กล้ามเนื้อนั้นเตรียมพร้อมสำหรับการคลอดที่ใกล้เข้ามาเรื่อย ๆ โดยที่คุณแม่นั้นจะรู้สึกแน่นที่บริเวณช่วงท้อง และจะรู้สึกเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงจะมีความเจ็บปวด และระยะเวลาจะไม่เท่ากัน รวมถึงบริเวณที่เจ็บอาจจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ซึ่งอาการจะหายไปเมื่อคุณแม่นั้นเดิน เปลี่ยนอิริยาบถ หรือหยุดพัก

สาเหตุการเจ็บครรภ์เตือน

  • ทารกดิ้นแรง
  • แม่ท้องทำงานหนัก
  • แม่ท้องเดินมาก
  • มดลูกหดรัดตัวตามปกติระหว่างตั้งครรภ์ Braxton Hick Contraction

อาการเจ็บครรภ์เตือน

  • อาการเจ็บเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ
  • เจ็บครรภ์เตือนมักจะปวดแค่บริเวณท้องน้อย
  • ระยะห่างของอาการปวดเจ็บครรภ์เตือนไม่ถี่ อาจเจ็บทุก ๆ 15-20 นาที
  • ความรุนแรงของอาการเจ็บครรภ์เตือนเท่า ๆ เดิม อาการเจ็บท้องไม่รุนแรงมาก
  • ไม่มีอาการอื่น ๆ เช่น มูกหรือมูกปนเลือดไหลออกจากช่องคลอด
  • อาการเจ็บครรภ์เตือนสามารถทุเลาหรือหายได้เอง หลังจากที่นอนพัก หรือทานยาแก้ปวด
  • การเจ็บครรภ์เตือนจะไม่ทำให้ปากมดลูกเปิดหรือปากมดลูกขยาย

บทความที่เกี่ยวข้อง : เจ็บท้องหลอก ต่างจากเจ็บท้องจริงอย่างไร เจ็บแบบไหนเรียกว่าปวดท้องใกล้คลอด

 

เจ็บครรภ์เตือน 1

อาการท้องแข็ง หรือเจ็บครรภ์ เจ็บ ครรภ์ เตือน เจ็บครรภ์เตือน เป็นยังไง

อาการท้องแข็งหรือเจ็บครรภ์

อาการท้องแข็งเกิดจากการบีบตัวของมดลูก เกิดขึ้นได้เสมอในระหว่างตั้งครรภ์ ความสำคัญคือต้องแยกให้ได้ว่าเป็นเพียงการเจ็บครรภ์เตือนหรือเจ็บครรภ์จริง โดยมีสาเหตุและลักษณะดังต่อไปนี้

 

วิธีดูแลตัวเองเมื่อท้องแข็ง

  • การดูแลเมื่อมีอาการท้องแข็งขณะตั้งครรภ์ แม่ท้องควรนั่งหรือนอนพักเฉย ๆ อยู่นิ่ง ๆ ซักระยะ อาการจะค่อย ๆ ดีขึ้นเอง
  • ถ้าท้องแข็งควรสังเกตอาการให้ดีว่า ลักษณะอาการเป็นการเจ็บครรภ์เตือนหรือเจ็บครรภ์จริง หากอาการเจ็บท้องถี่ขึ้น เจ็บท้องนานขึ้น ไม่หายไปแม้ว่าจะนอนพักหรือทานยาแก้ปวด ให้รีบไปโรงพยาบาล
  • อาการอื่น ๆ ประกอบการเจ็บครรภ์จริง เช่น น้ำเดิน ทารกดิ้นน้อยลง แม้ว่าไม่มีอาการท้องแข็ง แต่มีอาการเหล่านี้ ก็ควรไปโรงพยาบาล

อาการเจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง นั้นแตกต่างกัน แม่สามารถสังเกตว่า ถ้าท้องแข็ง น้ำเดิน เจ็บท้องถี่ ให้รีบไปโรงพยาบาล

บทความที่เกี่ยวข้อง : คนท้องต้องรู้! ท้อง 8 เดือนมีอาการท้องแข็ง ผิดปกติหรือไม่ มาดูกัน!

 

 

ขอขอบคุณข้อมูลเพิ่มเติมจาก : 1

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
IVF ICSI (อิ๊กซี่) มีขั้นตอนอย่างไร และมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่?
IVF ICSI (อิ๊กซี่) มีขั้นตอนอย่างไร และมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่?
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service

วิธีดูแลลูกในท้องให้แข็งแรง การดูแลทารกในครรภ์ บำรุงครรภ์ คนท้องดูแลตัวเอง อย่างไร

อาหารคนท้อง แต่ละไตรมาส คนท้อง ควรกินกี่มื้อ กับข้าวแม่ท้อง กินบำรุงทารกในครรภ์ ทุกไตรมาส

ลูกในท้องได้อะไรจากพ่อ ความเก่ง อารมณ์ หรือรูปร่างหน้าตา เช็คเลย!!

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • ไตรมาส 3
  • /
  • เจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง สาเหตุและอาการ วิธีดูแลตัวเองเมื่อมีอาการใกล้คลอด
แชร์ :
  • ท้องแข็ง เกิดจากอะไร ท้องแข็งเป็นอาการป่วย หรือสัญญาณใกล้คลอด?

    ท้องแข็ง เกิดจากอะไร ท้องแข็งเป็นอาการป่วย หรือสัญญาณใกล้คลอด?

  • ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อเริ่ม เจ็บครรภ์คลอด

    ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อเริ่ม เจ็บครรภ์คลอด

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ท้องแข็ง เกิดจากอะไร ท้องแข็งเป็นอาการป่วย หรือสัญญาณใกล้คลอด?

    ท้องแข็ง เกิดจากอะไร ท้องแข็งเป็นอาการป่วย หรือสัญญาณใกล้คลอด?

  • ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อเริ่ม เจ็บครรภ์คลอด

    ทำอย่างไรให้ปลอดภัย เมื่อเริ่ม เจ็บครรภ์คลอด

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว