X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

บทความ 3 นาที
เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

สงสัยจัง เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร  ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร

เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องนะคะ เราพบว่ายัง คุณพ่อ คุณแม่ หลายคนที่เข้าใจผิดอย่างมากเรื่อง เงินเด็กแรกเกิด กับ เงินสงเคราะห์บุตร

  • เงินสงเคราะห์บุตรเป็นสิทธิจากประกันสังคมที่จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเป็นผู้ประกันตนทุกมาตราของสำนักประกันสังคม

  • สำหรับเงินเด็กแรกเกิด ณ ตอนนี้ คือ เงินเด็กแรกเกิดจากรัฐบาล

สำหรับประกันสังคม คุณแม่ ที่เป็นมนุษย์ เงินเดือน หรือ ผู้ประกันตนถ้ากำลังจะ คลอดลูก สามารถใช้สิทธิ์ ประกันสังคม คนท้องได้ เมื่อ คุณแม่ จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมไม่น้อยกว่า 5 เดือน และ อยู่ภายใน 15 เดือน ก่อนคลอดลูก ถึงจะได้ สิทธิ์เงินสงเคราะห์ของสำนักประกันสังคม ถ้าเกิดว่าบ้านไหน มีทั้งพ่อและแม่เป็นผู้ประกันตน สามารถใช้สิทธิ์ต่างๆ ก่อนขอเงินสงเคราะห์บุตรได้ ดังนี้

เงินสงเคราะห์บุตร

Advertisement

สิทธิ์ของผู้ประกันตนฝ่ายแม่

  • เบิกเงินกรณีคลอดบุตรจะได้รับเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 13,000 บาท ต่อครั้ง
  • จะได้เงินสงเคราะห์​ หรือเงินชดเชยรายได้ที่หยุดงาน เพื่อการคลอดบุตรในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย เป็นเวลา 90 วัน
  • แต่สิทธิ์บุตรคนที่ 3 จะไม่ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรแล้ว
  • แต่ถ้ามีอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ แล้วต่อมาแท้งบุตร ผู้ประกันตนนมีสิทธิ์เบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย และเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรได้ เพราะครรภ์ 28 สัปดาห์ ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ไม่ถือว่าเป็นกรณีคลอดบุตร

สิทธิ์ของผู้ประกันตนฝ่ายพ่อ

  • เบิกค่าคลอดบุตรให้ภรรยาได้ แต่ต้องมีการส่งเงินสมทบมาแล้ว 5 เดือนภายในระยะเวลา 15 เดือนแบบเดียวกับผู้ประกันตนฝ่ายแม่
  • ผู้ประกันตนฝ่ายพ่อจะได้รับเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายกรณีคลอดบุตรจำนวน 13,000 บาท
  • ถ้าสามีและภรรยาอยู่กินกันโดยเปิดเผย แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน สามารถเบิกค่าคลอดบุตรได้ 

ในส่วนของโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้

ลูกงอแงตอนกลางคืน วิธีแก้ลูกร้องกวนกลางคืน ลูกร้องกลางคืน ลูกร้องไม่หยุด โอ๋ยังไงดี

ลูกงอแงตอนกลางคืน วิธีแก้ลูกร้องกวนกลางคืน ลูกร้องกลางคืน ลูกร้องไม่หยุด โอ๋ยังไงดี

    เงินเด็กแรกเกิดจากรัฐรัฐบาล

เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง 

เลี้ยงดูเด็กแรกเกิดเป็นโครงการที่ช่วยเหลือบุคคลที่ยากจน เพื่อให้เด็กได้มีชีวิตที่มีคุณภาพ เพราะสาเหตุจากความยากจนของครอบครัว คำว่าครัวเรือนเสี่ยงต่อการยากจนหมายความว่า ต้องเป็นครอบครัวหรือครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนที่มี รายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 3,000 บาทต่อคน และต่อเดือนหรือต่ำกว่า 36,000 บาทต่อคนต่อปี โดยนำรายได้ของสมาชิกในบ้านทั้งหมดในครอบครัว หารด้วยจำนวนสมาชิกทั้งหมดในครอบครัว ซึ่งก็รวมถึงเด็กแรกเกิดด้วย โดยคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์รับเงินเด็กแรกเกิดจากโครงการอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด มีดังนี้

  • หญิงตั้งครรภ์จะได้รับเงินเด็กแรกเกิดก็ต่อเมื่อ ลูกต้องมีกำหนดคลอดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 
  • หากการคลอดบุตรไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 ให้ถือว่าสิทธิ์ที่ลงทะเบียนไว้ถูกระงับไปโดยปริยาย
  • เด็กต้องเกิดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 และมีสัญชาติไทย พ่อและแม่ก็ต้องมีสัญชาติไทย
  • ไม่ได้เป็นผู้ได้รับสวัสดิการของรัฐ หรือสิทธิประโยชน์อื่นๆ เช่น เงินสงเคราห์บุตรจากประกันสังคม เงินสวัสดิการข้าราชการ เป็นต้น

เนื่องจาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) แจ้งว่า งบเดิมไม่เพียงพอต่อโครงการเงินเด็กแรกเกิด โดยสิทธิ์เงินเด็กแรกเกิด คือ ได้รับเงินรายละ 600 บาทต่อเดือน เป็นเวลา 36 เดือน หรือจนถึงอายุ 3 ขวบ ดังนั้น จึงหมายความว่า โครงการอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเงินสงเคราะห์บุตรจากสำนักประกันสังคมแต่อย่างใด  

ที่มา : rabbitcare

บทความเกี่ยวข้อง

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

กองทุนประกันสังคม เพิ่มเงิน สงเคราะห์เพื่อการคลอดบุตรเป็น 30,000 บาท 

เพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจาก 400 เป็น 600 บาท ประกันสังคมมอบของขวัญปีใหม่แม่ท้อง 

ชัวร์ก่อนแชร์ เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท อยู่ในขั้นตอนพิจารณา

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Weerati

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เงินเด็กแรกเกิดกับเงินสงเคราะห์บุตร ต่างกันมั๊ย ได้เมื่อไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว