X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ผู้ใหญ่เล่นกับเด็กแรงเกินไป เผลอเขย่าทารกหนักมือ ระวัง Shaken Baby Syndrome

บทความ 3 นาที
ผู้ใหญ่เล่นกับเด็กแรงเกินไป เผลอเขย่าทารกหนักมือ ระวัง Shaken Baby Syndrome

ทําไมถึงห้ามเขย่าทารก ผู้ใหญ่เล่นกับเด็กแรงเกินไป เขย่าทารกไม่ยั้งมือ ระวัง Shaken Baby Syndrome

เขย่าลูกแรง ทารกถูกเขย่า รุนแรงเกินไป

แม่จ๋าต้องระวัง เขย่าลูกแรง ทารกถูกเขย่า รุนแรงเกินไป ระวัง Shaken Baby Syndrome อย่าลืมว่า เจ้าตัวน้อยตัวเล็กนิดเดียว ผู้ใหญ่อยากเล่นอะไร ก็ต้องยั้งมือ ไม่เล่นกับลูกหรือหลานแรงเกินไป เพราะการเขย่าลูกแรง ๆ ไม่ว่าจะโกรธหรือเล่น อาจทำให้ทารกพิการหรือเสียชีวิตได้เลย

 

ทําไมถึงห้ามเขย่าทารก

พ่อแม่บางคนรู้ว่า ไม่ควรเขย่าลูกแรง เพราะทารกถูกเขย่าแรง ๆ กระทบต่อร่างกายเจ้าตัวน้อย แต่สำหรับคนอื่น ๆ เช่น ญาติผู้ใหญ่ เพื่อน ก็อาจจะไม่เข้าใจ นึกว่าเราหวงลูก ทำไมเล่นด้วยแค่นี้ทำไม่ได้ อย่างแรก พ่อแม่ก็ต้องทำความเข้าใจ อย่าตอบโต้ด้วยอารมณ์ ให้บอกเหตุผลไป ดังนี้

  • การเขย่าทารกอย่างรุนแรงจะทำให้ทารกเกิดอาการ Shaken Baby Syndrome
  • Shaken Baby Syndrome สมองของทารกจะได้รับการกระทบกระเทือน โดยเฉพาะเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 2 ขวบต้องระวัง

คิดง่าย ๆ ว่า เมื่อคอและศีรษะของทารก ถูกแรงเหวี่ยงไปมาข้างหน้า ข้างหลัง เป็นไปได้หรือ ที่ทารกตัวแค่นี้จะไม่เกิดอันตราย

 

ทารกถูกเขย่ารุนแรงเกินไป อันตราย!

เนื่องด้วยทารกที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบ มีกล้ามเนื้อคอที่ยังไม่แข็งแรง ขนาดพ่อแม่จะอุ้มแต่ละที ยังต้องคอยประคับประคองกันเต็มที่ ดังนั้น การเขย่าลูกแรง ๆ จึงเป็นสิ่งต้องห้าม โดยเฉพาะการเชคหรือเขย่าทารก จนคอและหัวเหวี่ยงไปเหวี่ยงมา เนื่องจากหัวของทารกในตอนเล็ก ๆ นั้นใหญ่กว่าลำตัว ภายในสมองก็มีเนื้อที่มาก ส่วนที่ป้องกันอันตรายจากการถูกเขย่านั้นก็น้อย

 

เขย่าทารก อันตราย

อันตรายจากการเขย่าลูกแรง ๆ คือ เส้นเลือดบริเวณเยื่อหุ้มสมองฉีกขาด จนเกิดเลือดออกในสมอง ลุกลามไปจนถึงเส้นเลือดในจอตาขาดได้ด้วย

จากสถิติพบว่า เด็กที่มีอาการ Shaken Baby Syndrome 1 ใน 3 สามารถรักษาให้หายเป็นปกติได้ ในขณะที่อีก 1 ใน 3 กลายเป็นคนพิการไปตลอดชีวิต เช่น ไร้สมรรถภาพในการเรียนรู้ ตาบอด หรือเป็นอัมพาตในสมองใหญ่ เป็นต้น และที่น่าเสียใจที่สุดคืออีก 1 ใน 3 นั้นอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

 

เหวี่ยงลูกไปมาก็เป็น Shaken baby syndrome ได้

ไม่ใช่แค่เขย่าลูกแรง ๆ แต่การเหวี่ยงลูกไปมาก็เป็น Shaken baby syndrome ได้เช่นกัน เพราะกลุ่มอาการนี้ อาจเกิดขึ้นกับกระโหลกจะกระแทกกับกระโหลกศีรษะเกิดสมองช้ำ ตามมาด้วยสมองบวม จนเสียชีวิตได้

อ่านเพิ่มเติม https://www.facebook.com/pg/Drnextdoor

 

วิธีสังเกตว่าลูกมีอาการ Shaken baby syndrome

  1. เซื่องซึม ง่วง นอนตลอด
  2. หงุดหงิด ร้องโยเยจนผิดสังเกต
  3. ไม่ยอมกินนม กินนมได้น้อย
  4. อาเจียนบ่อยๆ

หากลูกเล็กอายุไม่เกิน 1 ขวบครึ่ง กระหม่อมยังไม่ปิด ถ้าลูบแล้วบวมหรือนูนผิดปกติ ต้องพาไปโรงพยาบาลทันที

 

ทารกถูกเขย่า ทารกถูกเหวี่ยง แรง ๆ อาจทำให้เกิด Shaken Baby Syndrome ดังนั้น พ่อแม่ห้ามเขย่าลูกแรง และต้องคอยสังเกตคนที่มาเล่นกับลูกด้วยนะคะ เพื่อความปลอดภัยของลูก

ที่มา : https://www.doctor.or.th/

 

www.facebook.com/LikenowVideo/videos/1750073155112149/?t=0

ชมคลิปเขย่าลูกแรง ทารกถูกเขย่า รุนแรงเกินไป

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

สัปดาห์แรกของลูกแรกเกิด แม่ต้องดูแลทารกแรกเกิดอย่างไร วิธีดูแลลูก หลังคลอด

ฝันเห็นเด็ก ฝันเห็นทารก ฝันว่าได้อุ้มเด็ก หมายความว่าอะไร มาดูคำทำนายฝันแม่นๆ กัน!

14 วิธีสร้างเสียงหัวเราะให้ทารก เทคนิคเลี้ยงลูกให้ฉลาดและอารมณ์ดีตั้งแต่แบเบาะ

ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

 

บทความจากพันธมิตร
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ผู้ใหญ่เล่นกับเด็กแรงเกินไป เผลอเขย่าทารกหนักมือ ระวัง Shaken Baby Syndrome
แชร์ :
  • Shaken Baby Syndrome คืออะไร ภัยใกล้ตัวที่พ่อแม่หลายคนอาจมองข้าม

    Shaken Baby Syndrome คืออะไร ภัยใกล้ตัวที่พ่อแม่หลายคนอาจมองข้าม

  • อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

    อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

  • 50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

    50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • Shaken Baby Syndrome คืออะไร ภัยใกล้ตัวที่พ่อแม่หลายคนอาจมองข้าม

    Shaken Baby Syndrome คืออะไร ภัยใกล้ตัวที่พ่อแม่หลายคนอาจมองข้าม

  • อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

    อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

  • 50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

    50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ