X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูก 2 ขวบสะอึกบ่อย เพราะอะไร ?

บทความ 3 นาที
ลูก 2 ขวบสะอึกบ่อย เพราะอะไร ?

คุณแม่น้องปีโป้ (นามสมมติ) อายุ 2 ปี มาปรึกษาหมอเนื่องจากน้องปีโป้มีอาการสะอึกบ่อยมาก คุณแม่อยากทราบว่าเกิดจากอะไรบ้างและควรจะทำอย่างไร หมอจึงได้อธิบายให้คุณแม่ฟังดังนี้ค่ะ

ลูก 2 ขวบสะอึกบ่อย เพราะอะไร ? อาการสะอึก เกิดจากอะไร?

ลูก 2 ขวบสะอึกบ่อย เพราะอะไร ? อาการสะอึก เป็นอาการหายใจเข้าอย่างแรงที่เกิดจากกล้ามเนื้อหายใจ ได้แก่ กะบังลมและกล้ามเนื้อซี่โครงหดตัวอย่างรุนแรง มีการหดเกร็งตัวเป็นจังหวะ ทำให้การหายใจเข้าต้องหยุดชะงักด้วยการปิดของช่องสายเสียง ซึ่งเกิดตามหลังการเริ่มหายใจเข้า อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดเสียงสะอึกขึ้น

 

สาเหตุที่ทำให้สะอึก แบ่งเป็น 4 สาเหตุใหญ่ๆ ได้แก่

  1. การผิดปกติที่กะบังลม หรืออวัยวะที่อยู่ใกล้กะบังลม ได้แก่ หลอดอาหาร ปอด เส้นประสาทกะบังลม เช่น หลอดอาหาร เกิดจาก การกลืนอาหารอย่างรีบร้อน อาหารติดคอ กลืนลำบาก, ปอดอักเสบติดเชื้อ หรือมีเลือดออกในปอดและช่องอก เส้นประสาทกะบังลมมีการระคายเคือง เช่น จากการผ่าตัดช่องอก การอักเสบของช่องอก
  2. ความผิดปกติในช่องท้อง เช่น เยื่อบุช่องท้องอักเสบเฉียบพลัน กระเพาะหรือลำไส้อุดตันหรือไม่ทำงาน ตับอ่อนอักเสบ สาเหตุที่พบบ่อยของอาการสะอึกในทารกปกติก็เกิดจากสาเหตุในกลุ่มนี้ เนื่องจากกระเพาะอาหารขยายตัวจากการที่นมเข้าไปอยู่เต็มทำให้เกิดแรงดันไปยังกล้ามเนื้อกะบังลมที่อยู่ตรงรอยต่อระหว่างปอด และช่องท้อง ทำให้กล้ามเนื้อกะบังลมหดตัวอย่างรวดเร็ว
  3. ความผิดปกติที่สมอง เช่น กะโหลกศีรษะแตก สมองถูกกระทบกระเทือน เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มีผลต่อศูนย์การสะอึกในสมองซึ่งให้เกิดการเคลื่อนไหวผิดปกติของกะบังลม จนเกิดเป็นอาการสะอึก
  4. สภาวะจิตใจ เช่น ภาวะเครียด กังวล การแกล้งทำ เป็นต้น อาการสะอึกที่เกิดจากการจิตใจจะหายไปในขณะหลับและในขณะที่คนไข้อยู่คนเดียว

 

หากลูกมีอาการสะอึกควรทำอย่างไร?

หากลูกมีอาการสะอึก โดยทราบสาเหตุ ควรกำจัดสาเหตุนั้นก่อน เช่น ถ้าสงสัยว่าสะอึกจากอาหารติดคอก็ให้ดื่มน้ำช้าๆจนหาย หากไม่ทราบสาเหตุอาจลองใช้วิธีการต่างๆ เช่น

กลืนน้ำติด ๆ กันไปเรื่อย ๆ หรือกลั้นหายใจจนอาการสะอึกหาย, ทำให้จาม, ทำให้โกรธ กลัว ตื่นเต้น หรือเกิดอารมณ์รุนแรงอื่น ๆ อาจจะหยุดอาการสะอึกได้ โดยทั่วไปอาการสะอึกมักเกิดขึ้นไม่นาน เช่น ไม่กี่นาที แล้วก็จะหายเป็นปกติ แต่ถ้าสะอึกเป็นเวลานานหลายชั่วโมงก็อาจพาลูกไปพบคุณหมอเพื่อตรวจหาสาเหตุและรักษา

 

หากลูกสะอึกร่วมกับมีอาการผิดปกติ ที่ดูรุนแรงอื่น เช่น ไข้สูง ปวดท้องมาก อาเจียนมาก ไอมาก หายใจเหนื่อย เจ็บอก ควรรีบพาลูกไปพบคุณหมอ เพราะอาการสะอึกนั้นอาจมีสาเหตุมาจากโรคที่รุนแรง ต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนนะคะ

 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

สอนลูกล้างมือยังไง ให้ห่างไกลโนโรไวรัส

ระวังเด็กเล็กติดเชื้อไรโนไวรัส ก่อน 2 ขวบ เสี่ยงเป็นหอบหืดหรือภูมิแพ้

 

บทความจากพันธมิตร
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูก 2 ขวบสะอึกบ่อย เพราะอะไร ?
แชร์ :
  • ลูกศีรษะโตผิดปกติหรือไม่?

    ลูกศีรษะโตผิดปกติหรือไม่?

  • ลูกน้ำหนักน้อยและตัวผอม ควรให้ ลูกทานยาถ่ายพยาธิ หรือไม่?

    ลูกน้ำหนักน้อยและตัวผอม ควรให้ ลูกทานยาถ่ายพยาธิ หรือไม่?

  • ลูกศีรษะโตผิดปกติหรือไม่?

    ลูกศีรษะโตผิดปกติหรือไม่?

  • ลูกน้ำหนักน้อยและตัวผอม ควรให้ ลูกทานยาถ่ายพยาธิ หรือไม่?

    ลูกน้ำหนักน้อยและตัวผอม ควรให้ ลูกทานยาถ่ายพยาธิ หรือไม่?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ