X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วิธีคำนวณความสูงลูก วิธีคำนวณความสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ

บทความ 5 นาที
วิธีคำนวณความสูงลูก วิธีคำนวณความสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุวิธีคำนวณความสูงลูก วิธีคำนวณความสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ

เชื่อว่าคุณพ่อคุณแม่ต่างเฝ้าสังเกตการเติบโตของลูกทุกวัน ๆ โดยเฉพาะเรื่องของ ส่วนสูง เพราะหากลูกมีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่เพียงเป็นสัญญาณเตือนว่าลูกอาจเติบโตไม่สมวัย แต่อาจจะส่งผลต่อสภาพจิตใจของลูกได้ เมื่อลูกต้องเจอสังคมใหม่ ๆ มีเพื่อนมากขึ้น จะเกิดการเปรียบเทียบส่วนสูง และอาจขาดความมั่นใจได้หากลูกสูงหรือเตี้ยเกินไป วิธีคำนวณความสูงลูก จึงเป็นเรื่องที่พ่อแม่ควรรู้ เพื่อจะได้เข้าใจการเจริญเติบโตของลูก และรับมือกับปัญหาความสูงของลูกได้ทันท่วงที

 

วิธีคำนวณความสูงลูก คำนวณส่วนสูงตามพันธุกรรม

โรงพยาบาลกรุงเทพ ได้อธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลกับความสูงของลูก ได้แก่

  1. พันธุกรรม โดยปกติแล้วถ้าพ่อแม่สูง ลูกมักจะสูง หรือถ้าพ่อแม่เตี้ย ลูกก็มักจะเตี้ย
  2. สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ภาวะโภชนาการที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนให้เพียงพอ และการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ ได้แก่ Growth Hormone, Thyroid Hormone และ Sex Hormone ที่เป็นปกติ เป็นต้น

 

วิธีคำนวณความสูงลูก ส่วนสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ ส่วนสูงลูกน้อย วิธีคำนวณความสูง เด็กโตไวเกินอายุ ส่วนสูง ทารกแรกเกิด ถึงเด็กโต พร้อมวิธีคำนวณ

วิธีคำนวณความสูงลูกน้อย

เกณฑ์ความสูง อัตราการเพิ่มความสูงตามมาตรฐานตั้งแต่แรกเกิด

อายุ

อัตราการเพิ่มความสูง (เซนติเมตรต่อปี)

แรกเกิด – 1 ปี 23 – 27 ซม.
1 – 2 ปี 10 – 12 ซม.
ก่อนเข้าสู่วัยรุ่น 6 – 7 ซม.

สำหรับ ช่วงวัยรุ่น เด็กจะมีเวลาประมาณ 1 – 2 ปี ที่จะมีการเพิ่มความสูง สูงสุด (Peak Pubertal Growth Spurt)
• เด็กหญิง   7 – 10 ซม. ต่อปี
• เด็กชาย    8 – 12 ซม. ต่อปี

 

วิธีคำนวณความสูงลูกเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่

การคำนวณความสูงสุดท้ายจากความสูงของพ่อแม่ (Midparental Height และ Target Height) เป็นความสูงตามศักยภาพทางพันธุกรรม โดยพ่อแม่สามารถลองคำนวณความสูงคร่าวๆ ของลูกได้เองด้วยวิธีนี้

เด็กผู้ชาย = (ความสูงของพ่อ + ความสูงของแม่ + 13) ÷ 2

ยกตัวอย่างเช่น
ส่วนสูงพ่อ = 175 ซม. ส่วนสูงแม่ = 152 ซม.
175 + 152 = 327 ซม.
นำผลลัพธ์ไปบวก 13 จะได้ 327 + 13 = 340
นำผลลัพธ์หารด้วย 2 จะได้ 340/2 = 170
170 เซนติเมตร คือความสูงคร่าวๆ ของลูกชายในอนาคต

 

เด็กผู้หญิง = (ความสูงของพ่อ + ความสูงของแม่ – 13) ÷ 2

ยกตัวอย่างเช่น
ส่วนสูงพ่อ = 175 ซม. ส่วนสูงแม่ = 152 ซม.
175 + 152 = 327
นำผลลัพธ์ไปลบ 13 จะได้ 327 – 13 = 314
นำผลลัพธ์หารด้วย 2 จะได้ 314/2 = 157
157 เซนติเมตร คือความสูงคร่าวๆ ของลูกสาวในอนาคต

 

อย่างไรก็ตาม ความเป็นไปได้ของความสูงสุดท้ายจะอยู่ในช่วงบวกลบ 7 – 9 เซนติเมตร ดังนั้นความสูงสุดท้ายของลูกชาย ตามตัวอย่างจะอยู่ที่ 161 – 179 เซนติเมตร และลูกสาวจะอยู่ที่ 148 – 166 เซนติเมตร ตามลำดับ

 

วิธีคำนวณความสูงลูก ส่วนสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ ส่วนสูงลูกน้อย วิธีคำนวณความสูง เด็กโตไวเกินอายุ ส่วนสูง ทารกแรกเกิด ถึงเด็กโต พร้อมวิธีคำนวณ

วิธีคำนวณความสูงลูกผู้หญิง

กราฟมาตรฐานการเจริญเติบโต ความสูงของเด็กหญิง

 

วิธีคำนวณความสูงลูก ส่วนสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ ส่วนสูงลูกน้อย วิธีคำนวณความสูง เด็กโตไวเกินอายุ ส่วนสูง ทารกแรกเกิด ถึงเด็กโต พร้อมวิธีคำนวณ

วิธีคำนวณความสูงลูกผู้หญิง

กราฟมาตรฐานการเจริญเติบโต ความสูงของเด็กชาย

 

เด็กโตไวเกินอายุ อันตรายหรือไม่

ความสูงของลูก อีกปัญหาหนึ่งก็คือ สูงเกินไหว หากลูกสูงไว โตเร็ว เกินเพื่อนวัยเดียวกันอย่างเห็นได้ชัด ระวังเสี่ยงเป็น โรคเป็นหนุ่มเป็นสาวก่อนวัย (Precocious Puberty) ที่จะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตเร็วในช่วงแรก และมีอายุกระดูกล้ำหน้าไปกว่าอายุจริง จากนั้นหัวกระดูกจะปิดเร็วกว่ากำหนด ทำให้เด็กที่โตเร็วในตอนแรกกลายเป็นผู้ใหญ่ที่ตัวไม่สูงหรือตัวเล็กในอนาคตได้ ซึ่งโรคเป็นหนุ่มเป็นสาวก่อนวัยนี้ นอกจากจะส่งผลต่อเรื่องความสูงแล้ว ยังส่งผลต่อสภาพจิตใจของเด็กด้วย

  • เด็กผู้หญิงที่โตเกินวัย มักจะมีพัฒนาการของเต้านมก่อนอายุ 8 ขวบ หรือมีประจำเดือนครั้งแรกก่อนอายุ 9 ขวบ
  • เด็กผู้ชายที่โตเกินวัย สังเกตได้จากขนาดอัณฑะที่มักใหญ่กว่า 4 ซีซี

นอกจากนี้ ยังมีวิธีคำนวณความสูงลูกจากภาพถ่ายเอ็กซเรย์อายุกระดูก ซึ่งแพทย์จะช่วยคำนวณความสูงในอนาคตของลูกได้ชัดเจนกว่า ซึ่งวิธีนี้ต้องปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือกุมารแพทย์ต่อมไร้ท่อเพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง

 

ดูแลลูกรักให้มีพัฒนาการดี เติบโตสมวัย สูงสมส่วน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ 

รับฟรี พีเดียชัวร์ ขนาดทดลอง คลิกที่นี่

วิธีคำนวณความสูงลูก วิธีคำนวณความสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ

 

ที่มา : 1

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก

พาลูกหาหมอฟันครั้งแรก พาลูกไปหาหมอ ตรวจสุขภาพทารก ฉีดวัคซีนทารก แม่ต้องเตรียมตัวอย่างไร

ทารกติดโรค จากผู้ใหญ่ ทารกป่วยบ่อย ติดเชื้อจากพ่อแม่ ครอบครัว คนป่วยต้องอยู่ให้ห่างลูก

พ่อแม่ที่ตีลูก ดุด่าลูก ใส่อารมณ์กับลูก ระวังลูกโตไปเป็นเด็กเสียคน ไร้วินัย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • วิธีคำนวณความสูงลูก วิธีคำนวณความสูง ทารกแรกเกิด คํานวณส่วนสูงตามอายุ
แชร์ :
  • ทารกตัวยาวโตขึ้นจะสูงไหม? พร้อมวิธีคำนวณความสูงลูก

    ทารกตัวยาวโตขึ้นจะสูงไหม? พร้อมวิธีคำนวณความสูงลูก

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

app info
get app banner
  • ทารกตัวยาวโตขึ้นจะสูงไหม? พร้อมวิธีคำนวณความสูงลูก

    ทารกตัวยาวโตขึ้นจะสูงไหม? พร้อมวิธีคำนวณความสูงลูก

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ