X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกไม่ดูดเต้า ตั้งเป้าปั้มนมอย่างไรให้เพียงพอ

บทความ 5 นาที
ลูกไม่ดูดเต้า ตั้งเป้าปั้มนมอย่างไรให้เพียงพอ

ใช่ว่าแม่ทุกคนจะประสบความสำเร็จต่อการให้ลูกดูดเต้าได้ เมื่อพบกับปัญหาที่เบบี๋ไม่ยอมดูดเต้าอย่าเพิ่งหมดหวังและกังวลว่าลูกจะไม่ได้รับนมแม่อย่างเพียงพอนะคะ เมื่อลูกไม่เข้าเต้าเราก็ปั๊มนมแม่ให้ลูกกินได้

ลูกไม่ดูดเต้า ตั้งเป้าปั้มนมอย่างไรให้เพียงพอ 

ลูกไม่ดูดเต้า ปั้มอย่างเดียว คุณแม่อย่าเพิ่งกังวลไปว่า หลังคลอดลูก ในช่วงวันสองวันแรก ยังไม่มีน้ำนมออกมา สิ่งที่คุณแม่ ควรทำหลังคลอด คือการให้ลูกน้อยได้ดูดนมจากเต้าแม่ หรือ เริ่มปั๊มนมให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยปั๊มให้ได้ 8-10 ครั้ง ทุก 24 ชั่วโมง (เท่ากับจำนวนครั้งที่ลูกดูดต่อวัน) ยิ่งมีโอกาสได้ปั๊มนมบ่อยเท่าไหร่ ก็จะยิ่งทำให้เต้านมได้ผลิตน้ำนมมากขึ้น ให้ปั๊มไปเรื่อย ๆ จนกว่า …

ลูกไม่ดูดเต้า

 

นมแม่มีคุณค่า มากมายมหาศาลขนาดนี้ คุณแม่จำนวนมาก จึงตั้งใจที่จะ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่ ก็อาจมีหลายปัจจัย ทีทำให้คุณแม่ไม่สามารถให้นมจากเต้าได้ เช่น ลูกไม่ยอมดูดเต้า ลูกที่คลอดก่อนกำหนด ลูกที่มีภาวะแทรกซ้อน ทำให้ต้องอยู่ในตู้อบ เป็นต้น

  1. น้ำนมแม่จะไหลจริง ๆ ในวันที่ 3 หรือ 4 หลังคลอด ให้ปั๊มนมเป็นเวลา อย่างน้อย 10-15 นาทีต่อข้าง ต่อการปั๊มแต่ละครั้ง
  2. เมื่อปริมาณน้ำนมเพิ่มขึ้น ให้พยายามปั๊มให้นานขึ้น หรือ บ่อยที่สุดเท่าที่ทำได้ อย่างน้อย 20-30 นาที หรือ ปั๊มต่ออีก 2 นาทีหลังจากน้ำนมถูกปั๊มออกหมดแล้ว เพราะ การปั๊มให้เกลี้ยงเต้าจะช่วยให้ น้ำนมผลิตได้เร็วขึ้น

ลูกไม่ดูดเต้า

ลูกไม่ดูดเต้าตั้งเป้าปั้มนม อย่างไรให้พอ

  1. คุณแม่ลองตั้งเป้าว่า จะต้องปั๊มน้ำนมให้ได้ปริมาณเต็มที่ 25-35 ออนซ์ต่อวัน ภายใน 10-14 วัน หลัง คลอด โดยไม่ต้องคำนึงว่าลูก จะกินได้แค่ไหน
  2. กำหนดจำนวนครั้งของการปั๊มต่อวันคือ 8-10 ครั้ง ไม่ใช่ระยะห่าง ของการปั๊ม แต่ละครั้ง
  3. วางแผนการปั๊มว่า ในแต่ละวันจะปั๊มนมให้ได้ อย่างน้อย 10 ครั้ง หรือมากกว่านั้นอย่างไร
  4. ไม่ควรไปคำนึงถึง ระยะห่างของการปั๊ม ในแต่ละครั้งว่าจะต้องปั๊มทุกกี่ชั่วโมง เพราะถ้ามีการปั๊มช้าไปครั้งหนึ่ง ก็อาจทำให้จำนวนครั้งของการปั๊มต่อวันลดลงไปได้
  5. ถ้าไม่สามารถ ปั๊มนมในช่วงเวลาจำเป็น ให้ปั๊มนมทุกชั่วโมง ในช่วงเวลาที่ทำได้
  6. ถ้าปั๊มนมได้วันละ 8-10 ครั้งหรือมากกว่านั้นต่อวัน จะได้น้ำนมประมาณ 25-35 ออนซ์ ต่อวัน
  7. ก่อนที่จะถึงเป้าหมาย 25-35 ออนซ์ต่อวัน ให้ปั๊มตอนกลางคืน อย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่อย่าทิ้งช่วงห่างระหว่างการปั๊มแต่ ละครั้งนานเกินกว่า 5 ชั่วโมง เพราะ ถ้าเต้านมที่คัดมาก ๆ ไม่ได้ปล่อยออก จะทำให้กลไกการผลิตน้ำนม ช้าลง มาก ๆ

ลูกไม่ดูดเต้า ปั้มอย่างเดียว ทำอย่างไรถึงจะพอให้ลูก อ่านต่อกันค่า >>

ลูกไม่ดูดเต้า

  1. เมื่อถึงเป้าที่ตั้งไว้แล้ว อาจลดจำนวนการปั๊มต่อวันลงเป็น 5-7 ครั้ง ต่อวัน ซึ่งเป็นจำนวนครั้งที่ คุณแม่ ส่วนใหญ่สามารถรักษาระดับปริมาณการผลิตน้ำนมไว้ได้คงที่ แต่ให้คงรักษาปริมาณน้ำนม ( 25-35 ออนซ์ต่อวัน ) นี้ไว้
  2. และ อาจลดเวลาปั๊มเหลือเพียงข้างละ 10-15 นาทีต่อครั้ง
  3. คุณแม่ไม่จำเป็นต้องตื่นลุกขึ้นมาปั๊ม ตอนกลางคืน แต่สามารถ ปั๊มนมก่อนเข้านอน และ ตื่นขึ้นมาปั๊มอีกครั้งในตอนเช้า ซึ่งจะช่วยให้คุณแม่ได้มีเวลาพักผ่อนนอนหลับได้เพียงพอมากขึ้น
  4. จดบันทึกปริมาณน้ำนมที่ได้ใน แต่ละวัน และ ลองสังเกตปริมาณน้ำนมสัปดาห์ แต่ละครั้งดูนะคะ

การปั๊มน้ำนมให้ได้ประสิทธิผลนอกจากการเริ่มต้นปั๊มน้ำนมให้เร็วที่สุดหลังคลอดแล้ว ยังมีปัจจัยอื่น ๆ อย่างเช่น โภชนาการที่มีประโยชน์ ผักผลไม้ที่กินแล้วช่วยบำรุงน้ำนม กินอย่างไรช่วยให้น้ำนมเพิ่ม และ การเลือกใช้เครื่องปั๊มนมก็มีผลต่อปริมาณน้ำนมด้วยนะคะ .

อย่างไรก็ดีที่  ตัวช่วยสำคัญที่จะทำให้น้ำนมไหลที่สุดก็ คือการพยายามให้ลูกได้ดูดนม จากเต้าแม่ ซึ่งก่อนที่จะปั๊มนมนั้น ให้ตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องให้ลูก ได้ดูดนมจากอกแม่ ภายในเดือนแรกก่อน ดีที่สุด และ พยายามให้ลูกได้ดูดนมบ่อย ๆ ดูดให้อย่างถูกวิธี ก็จะประสบความสำเร็จ นะคะ คุณแม่สู้ ๆ

 

Credit content: www.breastfeedingthai.com 

ที่มา https://th.theasianparent.com

 

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 

3 เทคนิคปั๊มนมบนรถ สำหรับคุณแม่นักปั๊ม

7 เทคนิคปั๊มนมอย่างไรให้สำเร็จ เมื่อให้นมจากเต้าไม่ได้

ขนมแม่ให้นม คนท้องอยากกินขนม กินขนมแบบไหนดี เมนูเด็ด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ลูกไม่ดูดเต้า ตั้งเป้าปั้มนมอย่างไรให้เพียงพอ
แชร์ :
  • สุขใดเท่า ให้ลูกดูดเต้า ชีวิตจริงของแม่ให้นม ลูกอยากดูดตอนไหนก็พร้อมเปิดเต้าเสมอ

    สุขใดเท่า ให้ลูกดูดเต้า ชีวิตจริงของแม่ให้นม ลูกอยากดูดตอนไหนก็พร้อมเปิดเต้าเสมอ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • สุขใดเท่า ให้ลูกดูดเต้า ชีวิตจริงของแม่ให้นม ลูกอยากดูดตอนไหนก็พร้อมเปิดเต้าเสมอ

    สุขใดเท่า ให้ลูกดูดเต้า ชีวิตจริงของแม่ให้นม ลูกอยากดูดตอนไหนก็พร้อมเปิดเต้าเสมอ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว