X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ระวัง! ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เป็นหนุ่มสาวเร็ว ภัยร้ายท่ี่พ่อแม่สร้าง

บทความ 3 นาที
ระวัง! ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เป็นหนุ่มสาวเร็ว ภัยร้ายท่ี่พ่อแม่สร้าง

อย่าปล่อยให้ความเชื่อผิดๆ ต้องทำร้ายลูก โดยเฉพาะพ่อแม่ที่คิดว่าให้ลูกกินเยอะๆ ร่างกายจะได้สมบูรณ์ แข็งแรง อ้วนจ้ำม่ำ ซึ่งทำให้ ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เป็นหนุ่มสาวเร็ว

ระวัง! ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เป็นหนุ่มสาวเร็ว ภัยร้ายท่ีพ่อแม่สร้าง

ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เกิดจากภาวะเป็นหนุ่มสาวก่อนวัย มักจะพบมากกับเด็กในยุคปัจจุบัน โดยที่เด็กที่โตเร็วกว่าเพื่อนรุ่นเดียวกัน และจะหยุดโตหรือเตี้ยกว่า เพราะกระดูกปิดเร็วกว่าเด็กในวันเดียวกันนั่นเอง ซึ่งส่งผลต่อการคุกคามทางเพศได้ สาเหตุหลักมาจากพ่อแม่

 

ศ.นพ.พัฒน์ มหาโชคเลิศวัฒนา หัวหน้าหน่วยต่อมไร้ท่อและเมตาโบลิซึม คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้ศึกษาเรื่อง “โรคเป็นสาวก่อนวัย…ภัยที่ไม่ควรมองข้าม” ทำให้เห็นข้อมูลที่น่าสนใจคือ  การเป็นหนุ่มสาวในคนทั่วไป เกิดจากฮอร์โมนที่ไปกระตุ้นต่อมใต้สมองให้สร้างฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน (Gonadotropin) เพื่อกระตุ้นต่อมเพศให้สร้างฮอร์โมนเพศเพิ่มขึ้น

 

ลูกเป็นโรคโตเกินวัย

 

รู้ได้ไงว่าเด็กเป็นหนุ่มสาวก่อนวัย

การที่เด็กเริ่มเข้าสู่วัยหนุ่มสาวเร็ว อาจเกิดขึ้นจากหลายปัจจัย ทั้งเรื่องพันธุกรรม หรืออาหารการกิน ในทางการแพทย์รู้แค่ว่าเป็นผลมาจากสารเคมีในสมอง ซึ่งในครอบครัวเดียวกันก็จะมีช่วงที่เข้าสู่วัยหนุ่มสาวต่างกัน ปกติแล้วเด็กหญิงจะมีประจำเดือนในช่วงอายุ 11-15 ปี อายุมากหรือน้อยกว่านี้ถือว่าเป็นเรื่องธรรมชาติมาก และเริ่มมีหน้าอกในช่วงอายุ 9-10 ขวบ

คุณหมอยังบอกอีกว่า การที่เด็กมีประจำเดือน เป็นสัญญาณบอกว่า เด็กมีร่างกายที่เติบโตเต็มที่แล้ว แต่ไม่เกี่ยวกับที่เด็กจะหยุดสูงหรือลูกเตี้ยไปด้วย เป็นเพียงสัญญาณบอกความพร้อมของร่างกายเท่านั้น แต่ที่สำคัยอย่างปล่อยให้ลูกอ้วนตั้งแต่ อายุ 3-4 ขวบ เพราะมีการศึกษามาว่า เด็กที่อ้วนจะทำให้เข้าสู่วัยหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติถึง 1-2 ปี

Advertisement

ซึ่งภาวะการโตเป็นหนุ่มเป็นสาวเร็วกว่ารุ่นก่อนนั้น เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เนื่องจากคนเรามีอาหารการกินที่ดีกว่าในอดีต ทำให้ร่างกายอุดมสมบูรณ์กว่าเมื่อก่อน จริงๆ โรคนี้มีมานานแล้ว เพียงแต่ไม่ได้รับความสนใจเท่าไหร่ แต่ปัจจุบันคนเริ่มให้ความสนใจมากขึ้นเท่านั้นเอง หากพ่อแม่คนไหนพบว่าลูกๆ เหมือนจะโตเร็วกว่าปกติ สามารถเข้าไปขอคำแนะนำกับแพทย์ได้ เพราะตอนนี้มียาควบคุมแล้ว

 

ลูกเป็นโรคโตเกินวัย

 

วิธีการรักษา

คุณหมอจะเริ่มตรวจหาสาเหคุก่อน จากนั้นจะตรวจร่างกายประเมินพัฒนาการทางเพศ การเจริญเติบโต พร้อมเอกซเรย์ภาพถ่ายกระดูก ตรวจวัดระดับฮอร์โมน วัดขนาดมดลูกและรังไข่ การรักษาอาจแตกต่างกันขึ้นกับสาเหตุ บางรายฉีดฮอร์โมน บางรายกินยา จุดประสงค์หลักเพื่อยุติการพัฒนา ชะลอตัว ผลที่ได้จะทำให้หน้าอกมีขนาดเล็กลง ประจำเดือนก็จะหยุดชั่วคราว ลักษณะคล้ายเด็กวัยเดียวกัน แล้วเมื่อถึงวัยที่เหมาะสมจึงหยุดการให้ยา

เด็กเป็นสาวก่อนวัย เพราะกินไก่จริงหรือไม่

คุณหมอได้ให้คำตอบกับเราว่า เด็อกินไก่ฮอร์โมนแล้วเป็นโรคนั้น ยังไม่มีหลักฐานที่แน่นอน แต่ในทางทฤษฎีมีความไปได้ หากให้ฮอร์โมนกับเด็กติดต่อกันระยะหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันการเลี้ยงดูวัตว์ปีกอย่างไก่ เป็ด ก็มีมาตรฐานมาก ไม่มีการใช้ฮอร์โมนเหมือนเมื่อก่อน

 

สำหรับวิธีการป้องกันไม่ให้ลูกเป็นหนุ่มสาวเร็วที่ได้ผลดีที่สุด คุณหมอแนะนำว่า พ่อแม่ต้องควบคุมน้ำหนักของลูกให้เป็นไปตามเกณฑ์ อย่าปล่อยให้อ้วนมากเกินไป และต้องพยายามให้ลูกออกกำลักายอยู่เสมอ

 

ที่มา: newtv

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้

พ่อแม่ควรรู้ ลูกโตเป็นสาวไว ไม่ใช่เรื่องปกติ!

ลูกน้ำหนักมาก พัฒนาการช้า จริงไหม? สารพันปัญหาการเดินของทารก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ระวัง! ลูกเป็นโรคโตเกินวัย เป็นหนุ่มสาวเร็ว ภัยร้ายท่ี่พ่อแม่สร้าง
แชร์ :
  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว