X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ป้อนน้ำทารก อันตรายถึงชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ

บทความ 3 นาที
ป้อนน้ำทารก อันตรายถึงชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ

ความเชื่อผิดๆ ที่ว่า มนุษย์ต้องกินน้ำ เพื่อดับกระหาย ต้องป้อนน้ำทารกจะได้ถ่ายง่าย ท้องไม่ผูก ขับสารเหลือง อาจทำร้ายลูกถึงแก่ชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ

ผลเสียของการป้อนน้ำทารก

ป้อนน้ำทารก, ภาวะน้ำเป็นพิษ

1.เปลืองพื้นที่กระเพาะ

เมื่อป้อนน้ำทารก จะทำให้เจ้าตัวน้อยได้รับสารอาหารต่างๆ จากนมน้อยลง เนื่องจากพื้นที่ในกระเพาะน้อยๆ ของลูกถูกแทนที่ด้วยน้ำไปเสียแล้ว หากป้อนน้ำลูกเป็นประจำ อาจทำให้ลูกน้ำหนักขึ้นช้า กินนมได้น้อยลง 11% สำหรับคุณแม่ให้นม เมื่อลูกอิ่มน้ำก็จะดูดนมน้อยลง ส่งผลต่อการผลิตน้ำนมของคุณแม่ ทำให้นมแม่ลดลงอีกด้วย

2.อาจเสียชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ

ผลเสียที่รุนแรงสำหรับทารกเมื่อได้รับน้ำมากเกินไป คือ เกิดภาวะน้ำเป็นพิษ(water intoxication) พบได้บ่อยที่สุดในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน เนื่องจากไตของทารกยังทำงานได้ไม่เต็มที่ จึงไม่สามารถกรองของเหลวได้อย่างรวดเร็ว น้ำจึงไปเจือจางความเข้มข้นของโซเดียม  ซึ่งเป็นแร่ธาตุสำคัญในร่างกาย ทำหน้าที่รักษาสมดุลน้ำระหว่างนอกเซลล์และภายในเซลล์ โดยที่เด็กดื่มน้ำปริมาณมากเกินกว่าที่ร่างกายจะปรับสมดุลได้ ส่งผลระดับเกลือโซเดียมต่ำ จนเกิดความผิดปกติของสมดุลสารน้ำในร่างกายทารก น้ำจึงเข้าไปคั่งในเซลล์ทั่วร่างกาย ทำให้เกิดอาการกระตุกหรือชัก สมองบวม ปอดบวม โคม่า และเสียชีวิตได้

บทความแนะนำ เด็กแรกเกิดควรกินน้ำหรือเปล่า

ข้อมูลจากเพจ นมแม่แบบแฮปปี้ แนะนำว่า

ทารกอายุน้อยกว่า 6 เดือน หากกินนมแม่ ไม่จำเป็นต้องป้อนน้ำ เนื่องจากนมแม่มีน้ำเพียงพออยู่แล้ว สำหรับทารกที่กินนมชง ในนมชงก็มีน้ำมากพอ คุณแม่อาจป้อนน้ำตามเพียงแค่ล้างปากก็พอ

สำหรับทารกอายุมากกว่า 6 เดือน ให้ทานน้ำหลังอาหารก็เพียงพอ โดยให้จิบจากแก้ว ไม่จำเป็นต้องดื่มเป็นออนซ์ๆ

ไม่เว้นแม้แต่ผู้ใหญ่ หากแข่งขันดื่มน้ำมากๆ เร็วๆ ทีเดียวหลายลิตร ก็สามารถเกิดภาวะน้ำเป็นพิษและเสียชีวิตได้เช่นกัน

คุณพ่อคุณแม่ควรสังเกตอาการเมื่อเจ้าตัวน้อยสำลักน้ำหรือดื่มน้ำมากกว่าปกติ ดังนี้

1. สับสน ซึม เหม่อลอย
2. กล้ามเนื้อเป็นตะคริว มีลักษณะเกร็ง
3. มึนงง อาเจียน
4. หายใจหอบ อ่อนแรง

ให้รีบพาลูกไปโรงพยาบาล ห้ามรอดูอาการเด็ดขาด เพราะหากถึงมือหมอได้ทันท่วงที ลูกอาจรอดชีวิต

ทารกไม่ทานน้ำเลย 6 เดือนเป็นไปได้อย่างไร?

มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทยอธิบายว่า จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ลูกน้อยที่กินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกจะมีผลดีกับการเติบโตและพัฒนาการของลูก เพราะนมแม่มีคุณค่าและพลังงานที่เหมาะสมกับความต้องการของทารก การกินนมแม่ล้วนในช่วง 6 เดือนแรก ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตในทารกจากโรคร้ายต่างๆ เช่น โรคติดเชื้อในทางเดินอาหาร ในทางเดินหายใจ (ปอดบวม) หรือหูอักเสบ ช่วยให้ร่ายกายของทารกฟื้นตัวเร็วเมื่อเจ็บป่วย และยังช่วยแม่คุมกำเนิดโดยธรรมชาติด้วย

ทำไมน้ำจึงไม่จำเป็นใน 6 เดือนแรก?

ในช่วงแรกทารกต้องการปริมาณน้ำ 80–100 มล.ต่อ 1 กก. และประมาณ 140–160 มล.ต่อ 1 กก. ในช่วงอายุ 3–6 เดือน ซึ่งปริมาณน้ำที่ลูกได้รับจากน้ำนม เป็นปริมาณที่เพียงพอตามที่ร่างกายต้องการแล้ว เพราะ80% ของนมแม่ คือ น้ำ

ดังนั้น การป้อนน้ำทารกก่อน 6 เดือนจึงไม่มีประโยชน์ แถมยังเกิดความเสี่ยงถึงแก่ชีวิตอีกด้วย โดยข้อยกเว้นเดียวในการป้อนน้ำทารก คือเมื่อเจ้าตัวน้อยไม่สบายหรือร่างกายสูญเสียน้ำเนื่องจากท้องเสียหรืออาเจียน ซึ่งควรให้น้ำทารกภายใต้คำแนะนำของแพทย์ค่ะ

ที่มา www.whattoexpect.com, เพจนมแม่แบบแฮปปี้, www.thaibreastfeeding.org

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

ให้เด็กดื่มนมแม่ผสมน้ำ อันตรายถึงชีวิต

แม่โพสต์เล่า ลูกโดนป้อนน้ำจนลำไส้ติดเชื้อ เหตุการณ์ครั้งนี้ทำคนเป็นแม่ใจจะขาด

TAP mobile app

 

บทความจากพันธมิตร
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ป้อนน้ำทารก อันตรายถึงชีวิตจากภาวะน้ำเป็นพิษ
แชร์ :
  • เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
    บทความจากพันธมิตร

    เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

  • คู่มือคุณพ่อ – คุณแม่ ! วิธีเลือกโลชั่นเด็ก เลือกอย่างไรให้เหมาะสมและปลอดภัย

    คู่มือคุณพ่อ – คุณแม่ ! วิธีเลือกโลชั่นเด็ก เลือกอย่างไรให้เหมาะสมและปลอดภัย

  • LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
    บทความจากพันธมิตร

    LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้

  • เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
    บทความจากพันธมิตร

    เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

  • คู่มือคุณพ่อ – คุณแม่ ! วิธีเลือกโลชั่นเด็ก เลือกอย่างไรให้เหมาะสมและปลอดภัย

    คู่มือคุณพ่อ – คุณแม่ ! วิธีเลือกโลชั่นเด็ก เลือกอย่างไรให้เหมาะสมและปลอดภัย

  • LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
    บทความจากพันธมิตร

    LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ