X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่

บทความ 5 นาที
บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่

บาดแผลในวัยเด็ก คืออะไร ทำไมเรื่องแย่ที่เกิดขึ้นในชีวิตตอนเด็ก ส่งผลกระทบตอนเป็นผู้ใหญ่ แล้วอย่างนี้ บาดแผลในวัยเด็ก จะสามารถหายไปได้หรือไม่

บาดแผลในวัยเด็กทำให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

คำพูดที่บอกว่า หยุดโทษพ่อแม่ของคุณ เมื่อคุณโต ความผิดพลาดของคุณ เกิดจากตัวคุณเอง และการที่โตขึ้น การให้อภัยเป็นสิ่งสำคัญ

คนบางคนอาจได้รับบาดแผลในวัยเด็ก ทำให้ส่งผลกระทบต่อความทรงจำในชีวิตประจำวัน และการที่เราโตขึ้น มันอาจจะกระตุ้น ให้ทุกคน มีความรับผิดชอบมากขึ้น ให้รู้จักรับผิดชอบงานต่าง ๆ และหลีกเลี่ยงการพึ่งพาคนอื่น

เรื่องพวกนี้ มันอาจจะทำให้รู้สึกว่า เรื่องราวในวัยเด็กนั้นเจ็บปวด บางครั้งพ่อแม่อาจทำให้ลูกรู้สึกแย่ หรือเกิดแง่ลบในเรื่องที่เกิดขึ้น และอาจเป็นเรื่องราวที่เศร้าที่สุดในชีวิต

แต่นั่น ก็ไม่ได้หมายความว่า มีแค่คนกลุ่มนี้ที่มีความทรงจำที่เจ็บปวด แต่ก็ยังมี ผู้คนที่ผิดกฎหมาย ที่พวกเขาได้รับความรุนแรง หรือความบาดเจ็บ ในช่วงที่พวกเขาเป็นวัยเด็กเหมือนกัน

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ตกเป็นเหยื่อความรุนแรง

พฤติกรรมในการสอนลูกที่ดีที่สุดคืออะไร 

พฤติกรรมที่พ่อแม่สอนลูก ที่ดีที่สุด คือ การเลี้ยงดู มีพฤติกรรมที่แสดงกับลูกที่ดี รวมถึงนิสัยของพ่อแม่ที่เป็นแบบอย่างที่ดี ที่จะสั่งสอนลูกในวัยเด็ก หากพ่อแม่ แสดงพฤติกรรมไม่ดี อาจจะส่งผลกระทบต่อลูก และทำให้ลูกเลียนแบบได้

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : เลี้ยงลูกแบบไม่ดุ ได้ผลดีกว่า ทำไมการเลี้ยงลูกแบบเข้าใจถึงเป็นทางที่ดีกว่า

พ่อแม่ไม่ควรทำร้ายลูกทางอ้อม 

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

  • ไม่ให้ลูกทำงานบ้าน 

การที่พ่อแม่ไม่ให้ลูกทำงานบ้าน เพราะเห็นว่าลูกยังเด็กอยู่ และถ้าถามตัวลูกเองว่าโกรธหรือไม่ ที่ไม่ให้ทำงานบ้าน ลูกก็คงตอบว่า ไม่ แต่การที่พ่อแม่ ไม่ให้ทำงานบ้าน ที่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน อาจส่งผลให้ เขาไม่มีวินัย เมื่อลูกโตขึ้นได้

  • ไม่แสดงอารมณ์ความรู้สึกให้ลูกเห็น 

การที่พ่อแม่ ไม่แสดงอารมณ์ความรู้สึกอะไรออกมา ไม่มีการบอกรักลูก กอดลูก อาจส่งผลต่อพัฒนาการ และทำให้ลูกไม่รับรู้ หรือแสดงอารมณ์อะไรออกมา เมื่อโตขึ้น อาจเป็นคนเก็บกด ไม่กล้าพูด

  • ให้ความสำคัญทางการเงินมากกว่าครอบครัว 

คุณพ่อคุณแม่บางท่าน อาจจะเจอเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อชีวิต หรืออยู่ตัวคนเดียวมาโดยตลอด พอมีลูกก็ไม่ให้ความสนใจ หรือความสำคัญกับลูก มุ่งหน้าหาแต่เงินอย่างเดียว อาจจะส่งผลให้ลูกขาดความอบอุ่น และเป็นเด็กมีปัญหาเมื่อโตขึ้นได้

  • ควรให้ลูกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 

ในช่วงที่ลูกเป็นเด็ก คุณพ่อคุณแม่ควรให้ลูกกินอาหารที่ดีต่อ และมีประโยชน์ต่อสุขภาพ เพราะหากไม่ได้กินอาผัก ผลไม้ ที่มีประโยชน์ จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของลูกได้

หากเราทุกคนได้รับบาดเจ็บ ได้รับผลกระทบจากการเลี้ยงดู ผลกระทบเหล่านี้ จะทำให้ดำเนินชีวิตไปได้อย่างไร เพราะผลกระทบที่เกิดขึ้น ไม่ได้หายไป เมื่อเราอายุมากขึ้น บางสิ่งบางอย่างที่เราเคยเจอมา ก็จะติดตัวเราไปตลอดชีวิต ถึงจะเข้ารับการบำบัดหลายปี ก็ไม่ได้หลายไปซะทีเดียว หากมีวัยเด็กคนใดคนหนึ่งไปเกี่ยวข้องกับบางสิ่ง ที่ทำให้ส่งผลกระทบต่อจิตใจในแง่ลบ ก็เป็นไปได้สูงว่า ผลกระทบนี้ส่งผลยาวนาน หรืออาจถาวร

อะไรคือการบาดเจ็บ ? 

ความเจ็บปวดในวัยเด็ก คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงแค่ความเจ็บปวดทั่วไป มากกว่าการถูกทำร้ายร่างกาย แต่ความจริงแล้ว มีหลายรูปแบบ และอาจมีผลกระทบที่แตกต่างกันไป อาจดูเหมือนเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ความเจ็บปวด มันเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นเวลานาน

The Amygdala ศูนย์รักษาสมองแห่งความกลัว คือ การกระตุ้นสมองให้เกิดความกลัว การที่กระตุ้นมากเกินไปนั้น จะทำให้ระบบสมองสั่งการให้คิดเองว่า ควรจะกลัว แม้ไม่ได้มีอันตรายอะไร และในทางกลับกัน การกระตุ้นสมองมาก ๆ จะทำให้ เยื่อหุ้มสมองส่วนหน้า ทำงานได้ช้าลง และทำให้ลดความสามารถในการตัดสินใจ และการจัดระเบียบความคิด และเมื่อเวลาผ่านไป ส่วนของสมองที่ควบคุมอารมณ์ จะกลายเป็นความผิดปกติ ส่งผลให้ มีอารมณ์ที่รุนแรงเกินไป

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง : 19 ความกลัวแปลก ๆ ของเจ้าตัวเล็ก

เคสตัวอย่าง การกระตุ้นสมองของแต่ละคน ส่งผลแตกต่างกันอย่างไร 

บาดแผลในวัยเด็ก

บาดแผลในวัยเด็ก

  • การกระตุ้นสมอง ผ่านการรรับรู้จากกลิ่นกัญชา 

ส่งผลทำให้ จิตใต้สำนึก นึกถึงแม่ ที่ละเลยการเลี้ยงดูในวัยเด็ก และได้รับการบำบัดหลายปี แต่เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ก็พบว่า ต้องผ่านพ้นเรื่องราวพวกนี้ และใช้ชีวิตต่อไปให้ได้

  • เปรียบเสมือนการกระแทกประตู 

บาดแผลในวัยเด็ก ที่ต้องเจอ เหมือนเสียงกระแทกประตู ที่สะเทือนใจ และตกใจกลัว มาโดยตลอด

  • เปรียบเสมือนความเงียบ 

เพราะไม่ได้รับรู้ อารมณ์ความรู้สึก ของครอบครัว ที่มอบให้เขาในวัยเด็ก ทำให้เขาเจอแต่ความเงียบ ไม่หัวเราะ เหมือนเด็กคนอื่น ๆ

แม้จะผ่านการบำบัดมานานเท่าไหร่ สมองก็ยังจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผ่านมาในชีวิตได้ ถึงจะเข้าสู่ช่วงวัยผู้ใหญ่ และเริ่มที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ กับการรับมือกับเรื่องราวความเจ็บปวด ที่ผ่านมา แต่ก็ยังปิดกั้นตัวเองอยู่เสมอ

บทความจากพันธมิตร
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ

เพราะความเจ็บปวดที่ได้รับมาตั้งแต่เด็ก ” หยุดโทษพ่อแม่ของคุณ ที่เขาทำอะไรกับคุณ ” ไม่มีประโยชน์อะไร และคุณเองก็อาจจะ ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพราะสิ่งที่คุณเห็น เป็นเพียงแค่เรื่องพื้นผิว ต่างกับสิ่งที่พวกเขาเจอ เพราะคุณไม่รู้ว่า พวกเขาทำได้ดีแค่ไหน

ที่มา : 1

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Nanticha Phothatanapong

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • บาดแผลในวัยเด็ก ส่งผลถึงตอนเป็นผู้ใหญ่ จริงหรือไม่
แชร์ :
  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่  35 ช่วงคัดนม แล้วน้ำนมใสเป็นน้ำ ต้องปั๊มทิ้งหรือไม่ ?

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 35 ช่วงคัดนม แล้วน้ำนมใสเป็นน้ำ ต้องปั๊มทิ้งหรือไม่ ?

  • ตกขาวปนเลือด ผิดปกติหรือไม่ สาเหตุเกิดจากอะไร เมื่อไหร่ต้องไปหาหมอ ?

    ตกขาวปนเลือด ผิดปกติหรือไม่ สาเหตุเกิดจากอะไร เมื่อไหร่ต้องไปหาหมอ ?

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่  35 ช่วงคัดนม แล้วน้ำนมใสเป็นน้ำ ต้องปั๊มทิ้งหรือไม่ ?

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 35 ช่วงคัดนม แล้วน้ำนมใสเป็นน้ำ ต้องปั๊มทิ้งหรือไม่ ?

  • ตกขาวปนเลือด ผิดปกติหรือไม่ สาเหตุเกิดจากอะไร เมื่อไหร่ต้องไปหาหมอ ?

    ตกขาวปนเลือด ผิดปกติหรือไม่ สาเหตุเกิดจากอะไร เมื่อไหร่ต้องไปหาหมอ ?

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ