X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

"น้ำเดิน" เป็นอย่างไร เรื่องควรรู้ของแม่ใกล้คลอด

บทความ 3 นาที
"น้ำเดิน" เป็นอย่างไร เรื่องควรรู้ของแม่ใกล้คลอด

ในช่วงไตรมาสสุดท้าย เข้าสู่ระยะใกล้คลอด จะเริ่มมีอาการส่งสัญญานเตือนว่าใกล้จะถึงเวลาที่ลูกน้อยจะออกมาลืมตาดูโลกแล้วนะ หนึ่งในสัญญานนั้นก็คืออาการ “น้ำเดิน”

คุณแม่ท้องต้องคอยสังเกตอาการในช่วงใกล้คลอดให้ดี หากพบน้ำใส ๆ คล้ายปัสสาวะไหลออกมาจากช่องคลอดมาก ไม่สามารถกลั้นได้เหมือนปัสสาวะ ลักษณะแบบนี้เรียกว่า อาการน้ำเดิน มาทำความเข้าใจ “ภาวะน้ำเดิน” ให้มากกว่านี้กันคะ

น้ำเดินเป็นยังไง

น้ำเดินเป็นยังไง

“น้ำเดิน”  คือ ภาวะที่มักเกิดขึ้นเมื่อเริ่มเข้าสู่ระยะใกล้คลอดแล้ว ซึ่งเกิดจากถุงน้ำคร่ำที่ห้อหุ้มตัวทารกแตกหรือรั่วทำให้มีน้ำใส ๆ ไหลออกในปริมาณที่มากพอสมควร หากนั่งหรือนอนจะเห็นน้ำคร่ำไหลออกคล้ายกับปัสสาวะเปรอะเลอะที่นอน หากยืนอยู่น้ำคร่ำก็จะไหลนองพื้นคล้ายปัสสาวะไม่หยุด ซึ่งจะแตกต่างจากอาการปัสสาวะเล็ด และเมื่อเกิดน้ำเดินแล้ว จะมีอาการออกมาต่อเนื่องเรื่อย ๆ เป็นพัก ๆ คุณแม่จะรู้สึกเจ็บท้อง แสดงว่ามดลูกเริ่มบีบตัวหดเล็กลงเพื่อบีบให้ศีรษะของเด็กเคลื่อนลงสู่อุ้งเชิงกราน เข้าสู่ระยะใกล้แล้ว และหากเกิดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ อาจจะเสี่ยงต่อภาวะคลอดก่อนกำหนดได้ เนื่องจากการบีบตัวของมดลูกอย่างรุนแรง เกิดจากการกระแทกจากอุบัติเหตุ หรือแม้แต่การมีเพศสัมพันธ์

Read : น้ำเดินหรือปัสสาวะเล็ดกันแน่ สัญญาณคลอดที่แม่ท้องต้องสังเกต

Advertisement

เมื่อถึงเวลาน้ำเดินควรทำอย่างไร

คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์อยู่ในไตรมาสสุดท้าย หรือที่อยู่ในระยะใกล้คลอดควรหมั่นสังเกตอาการหรือความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตัวเอง เมื่อพบว่าตัวเองมีอาการน้ำเดิน ควรรีบไปโรงพยาบาลทันที เพราะเมื่อน้ำเดินหรือถุงน้ำคร่ำแตก มีโอกาสทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ช่องคลอดและโพรงมดลูกได้ง่าย ส่งผลให้เกิดอาการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูกซึ่งจะเป็นอันตรายต่อทั้งคุณแม่ลูกในครรภ์ โดยปกติแล้วแม่ท้องส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บท้องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากเกิดอาการน้ำเดิน หากน้ำเดินเป็นระยะเวลานานแล้วยังไม่คลอด โอกาสที่แม่และลูกน้อยในครรภ์จะได้รับเชื้อโรคและอันตรายก็จะยิ่งสูงตามไปด้วย ดังนั้นเมื่อมีอาการน้ำเดินแล้ว คุณแม่ควรจะอยู่ในความใกล้ชิดของแพทย์ดีที่สุดคะ

ขอบคุณที่มา :www.healthandtrend.com

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
5 สัญญาณเตือนคลอดก่อนกำหนดที่ต้องระวัง!!
ทำไมหลังคลอดถึงปัสสาวะเล็ดบ่อย?

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • "น้ำเดิน" เป็นอย่างไร เรื่องควรรู้ของแม่ใกล้คลอด
แชร์ :
  • 7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

    7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

  • 7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

    7 อาการปวดที่คนท้องต้องเจอ รับมือยังไง? ให้ราบรื่นตลอด 9 เดือน

  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว