X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

น้ำเดินหรือปัสสาวะเล็ดกันแน่ สัญญาณคลอดที่แม่ท้องต้องสังเกต

บทความ 3 นาที
น้ำเดินหรือปัสสาวะเล็ดกันแน่ สัญญาณคลอดที่แม่ท้องต้องสังเกต

น้ำเดินเป็นยังไง จะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำเดินหรือปัสสาวะเล็ด มาไขข้อข้องใจให้คุณแม่เตรียมพร้อมสำหรับการคลอดที่กำลังจะมาถึงกันค่ะ

ในช่วงใกล้คลอดจะเป็นอีกช่วงหนึ่งที่คุณแม่ท้องจะปวดปัสสาวะบ่อย เนื่องจากศีรษะของลูกน้อยในครรภ์กลับหัวลงมากดบริเวณกระเพาะปัสสาวะ และอาจทำให้ปัสสาวะเล็ดได้

จะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำเดิน หรือปัสสาวะเล็ด?

ลักษณะของน้ำที่ไหลออกมาจากช่องคลอด

  • หากน้ำเดินเพราะถุงน้ำคร่ำแตก ลักษณะของน้ำจะไหลออกมามากหรือน้อยก็ตาม แต่จะไหลไม่หยุด
  • หากปัสสาวะเล็ดจะเล็ดออกมาครั้งเดียวแล้วก็หยุด

กลิ่นของน้ำที่ไหลออกมาจากช่องคลอด

  • หากเป็นน้ำคร่ำจะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น
  • หากเป็นปัสสาวะ คุณแม่จะได้กลิ่นปัสสาวะที่คุ้นเคย

น้ำเดินแล้วจะทำยังไงดี

ให้คุณแม่รีบไปโรงพยาบาลทันทีที่น้ำเดิน เพราะเมื่อน้ำเดิน ปราการที่ป้องกันการอักเสบติดเชื้อจะหายไป ทำให้มีโอกาสติดเชื้อในโพรงมดลูก โดยปกติแล้วคุณแม่ท้องส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บท้องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากน้ำเดิน แต่หากยังไม่เจ็บท้องก็ไม่ควรปล่อยเอาไว้ เพราะอาจได้รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย อันตรายต่อลูกน้อยและตัวคุณแม่เอง

อันตรายจากน้ำเดิน นอกจากน้ำคร่ำจะออกมาแล้ว บางเคสสายสะดือโผล่ออกมาพ้นปากช่องคลอด ทำให้ลูกน้อยขาดเลือดไปเลี้ยง สามารถเสียชีวิตได้ภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที

ถ้าน้ำเดินก่อนกำหนดล่ะ

คุณแม่จะได้รับการดูแลจากคุณหมออย่างใกล้ชิดหากน้ำเดินก่อนกำหนด โดยคุณแม่ต้องนอนนิ่งๆ เพื่อให้น้ำคร่ำออกน้อยลง ทั้งนี้มีคนไข้จำนวนไม่น้อยที่ถุงน้ำที่รั่วนั้นปิดได้เอง ระหว่างนี้คุณหมอจะคอยสังเกตอาการของคุณแม่ว่าเจ็บท้องคลอดหรือยัง มีไข้ ปวดท้อง หรือมีความผิดปกติอื่นหรือไม่

นอกจากนี้คุณหมอจะเจาะเลือดดูเป็นระยะ หากพบว่ามีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น แสดงว่าเกิดการอักเสบของโพรงมดลูก คุณหมอจะรักษาโดยให้ยาแก้อักเสบและเร่งให้เจ็บท้องคลอดหรือผ่าคลอดแล้วแต่กรณี

หากคุณหมอตรวจดูแล้วพบว่าทั้งคุณแม่และลูกน้อยปกติดี น้ำคร่ำออกไม่มาก และคุณแม่ไม่มีอาการเจ็บท้องคลอด คุณหมอก็จะให้นอนพักอยู่ในโรงพยาบาลจนกระทั่งอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ เพื่อให้ลูกน้อยแข็งแรงพอที่จะคลอดออกมาอย่างปลอดภัย

 

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บท้องคลอด !

นักวิจัยพบ หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรกินยาพาราเซตามอล

 

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • น้ำเดินหรือปัสสาวะเล็ดกันแน่ สัญญาณคลอดที่แม่ท้องต้องสังเกต
แชร์ :
  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว