X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทารกน้อยหายใจเสียงดัง มีน้ำมูก จากภาวะ nasal snuffles ลูกป่วยหนักหรือเปล่า

บทความ 3 นาที
ทารกน้อยหายใจเสียงดัง มีน้ำมูก จากภาวะ nasal snuffles ลูกป่วยหนักหรือเปล่าทารกน้อยหายใจเสียงดัง มีน้ำมูก จากภาวะ nasal snuffles ลูกป่วยหนักหรือเปล่า

ทำไงดี ลูกวัย 2 เดือน มีน้ำมูกใส หายใจเสียงดัง ตั้งแต่เดือนแรก... มาทำความรู้จัก ภาวะ nasal snuffles ในทารกกันค่ะ

ลูกหายใจเสียดัง มีน้ำมูก ลูก มี น้ํา มูก ...น้องโบ อายุ 2 เดือน มีน้ำมูกใส ๆ นอนหายใจเสียงดัง เป็นมาตั้งแต่อายุ 1 เดือนแรก โดยที่ดูปกติดี นอนหลับสบาย แต่คุณแม่กังวลใจมาก เพราะกลัวว่าน้องโบจะเป็นหวัดติดเชื้อเรื้อรัง หรือ เป็นโรคภูมิแพ้ ซึ่งเมื่อคุณหมอได้ซักถามและตรวจร่างกายอย่างละเอียดก็สามารถให้ความมั่นใจแก่คุณแม่ได้ว่า น้องโบมีภาวะ nasal snuffles ซึ่งไม่ได้มีอันตรายอะไร และจะหายไปได้เองเมื่อโตขึ้น ดังนี้ค่ะ

 

ลูกหายใจเสียดัง มีน้ำมูก ลูก มี น้ำ มูก นอนหายใจเสียงดัง เกิดจากอะไร

ภาวะ nasal snuffles คืออะไร

ลูกมีน้ำมูก nasal snuffles เป็น ภาวะที่พบได้ในทารก อายุ 2-3 เดือนแรก จะมีน้ำมูกใส ๆ จนถึงขาวข้น ยืดเยื้อเรื้อรัง บางครั้งเหมือนคัดจมูก โดยที่ไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ เช่น ไข้ ซึม ดูดนมไม่ได้ และการตรวจร่างกายในระบบอื่น ๆ ปกติทั้งหมด ซึ่งคุณหมอจะทำการวินิจฉัยแยกโรคจากภาวะที่มีน้ำมูก คัดจมูกเรื้อรัง จากสาเหตุอื่นๆ เช่น จมูกอักเสบติดเชื้อ เป็นหวัด ซึ่งทารกจะแสดงอาการอื่น ที่จำเพาะต่อโรคนั้นๆด้วย

 

ภาวะ nasal snuffles เกิดจากอะไร?

ลูกมีน้ำมูก ภาวะนี้เกิดจากน้ำมูกปกติที่สะสมอยู่ในจมูกของทารก โดยไม่ได้เกิดจาการเป็นหวัด หรือติดเชื้อชนิดใด แต่หากมีการติดเชื้อจะทำให้อาการแย่ลงได้ โดยทารกวัยแรกเกิด ถึง 3 เดือนไม่สามารถสั่งน้ำมูก ระบายออกมาได้เอง ทารกจึงหายใจเสียงดัง โดยไม่มีอาการผิดปกติอื่น ทั้งนี้ในบางครั้ง หากมีน้ำมูกอุดตันมาก ทารกอาจหายใจผ่านจมูกได้ลำบาก และดูดนมไม่ได้ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ทันที ตามวิธีด้านล่างนี้ค่ะ

 

ลูกหายใจเสียดัง มีน้ำมูก หายใจลำบากจากภาวะ nasal snuffles ควรทำอย่างไร?

วิธีลดอาการคัดจมูกลูก ลูกมีน้ำมูก

  • หากคุณพ่อคุณแม่สังเกตว่าทารกน้อยมีอาการคัดจมูก หรือน้ำมูกเยอะมาก ลูก มี น้ํา มูก จนหายใจไม่สะดวก หรือไม่ยอมดูดนม ก็สามารถช่วยบรรเทาอาการให้ได้
  • โดยหยดน้ำเกลือ เข้าทางรูจมูก ข้างละ 1-2 หยด เพื่อทำให้น้ำมูกนิ่ม ไม่เหนียว
  • แล้วดูดออกด้วยลูกยางแดง
  • หรือหากมีน้ำมูกไม่มากก็อาจเพียงใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำอุ่นเช็ดจมูกทารก ก่อนให้ทารกดูดนม ช่วยจัดท่าทารกให้นอนตะแคง
  • หากทารกยังดูมีอาการคัดจมูกมาก ก็อาจใช้ยาหยอดในจมูก เพื่อลดจมูกบวม เป็นครั้งคราว ไม่เกิน 3 วันติดต่อกัน นะคะ

 

ภาวะ nasal snuffles จะหายได้หรือไม่?

ทารกที่มีภาวะนี้ อาการจะค่อย ๆ ดีขึ้น เมื่อทารกโตขึ้น จนหายได้เอง หลังอายุ 3 เดือน

 

ลูกมีน้ำมูก จะเห็นได้ว่า ภาวะ nasal snuffles ไม่ได้เป็นความผิดปกติที่อันตราย อีกทั้งยังสามารถหายได้เอง คุณพ่อคุณแม่จึงไม่ต้องวิตกกังวลแต่อย่างใด ขอเพียงแค่เฝ้าสังเกตอาการ และช่วยระบายน้ำมูก ลดการอุดตันของจมูกเป็นครั้งคราว ก่อนให้ทารกดูดนม หรือเมื่อมีอาการแน่นจมูกมาก และสังเกตอาการก็เพียงพอค่ะ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ผลกระทบ ควันบุหรี่มือสอง ลูกในท้องไม่ตาย ก็กระทบพัฒนาการสมองทารก

ลูกแรกเกิด - 3 เดือน ทารกน้อยติดเชื้อง่ายคุณพ่อคุณแม่ควรระมัดระวังกันนะคะ

ทรมานตั้งแต่เกิด ลูกแรกเกิดป่วย โรคลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด (Hirschsprung’s disease)

เช็คความปกติลูก 10 เรื่อง แม่ต้องสังเกตทารกแรกเกิด ตั้งแต่หัวจรดเท้า

 

บทความจากพันธมิตร
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • เจ็บป่วย
  • /
  • ทารกน้อยหายใจเสียงดัง มีน้ำมูก จากภาวะ nasal snuffles ลูกป่วยหนักหรือเปล่า
แชร์ :
  • ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

    ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

  • โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    บทความจากพันธมิตร

    โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม

  • ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

    ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

app info
get app banner
  • ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

    ยาขับเลือดประจำเดือนไม่มา หรือมาไม่ปกติ ยาสตรี แก้ปัญหาเหล่านี้ได้จริงหรือ?

  • โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    บทความจากพันธมิตร

    โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม

  • ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

    ท้องลายหลังคลอด ปัญหาหนักใจของคุณแม่ ป้องกัน และแก้ไขได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ