X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!

บทความ 5 นาที
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นี้มีมากมาย วันนี้ theAsianparent พามาดู โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!

21โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นั้นมีมากมาย theAsianparent พามาดู โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!

โรคต่อมบาร์โธลิน อักเสบ (Bartholin’s Cyst) เป็นอาการที่ต่อมบาร์โธลินด้านใดด้านหนึ่ง เกิดอาการบวมขึ้น เป็นถุงน้ำหรือซีสต์ ซึ่งมักพบในเพศหญิง วัยมีประจำเดือนจนถึงก่อนหมดประจำเดือน โดยปกติแล้วต่อมบาร์โธลิน จะอยู่ในบริเวณปากช่องคลอดในแต่ละด้าน มีหน้าที่ผลิตสารหล่อลื่นในช่องคลอด เพื่อช่วยป้องกันเนื้อเยื่อในช่องคลอดในระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ บางกรณีก็จะเกิดการอุดตันบริเวณต่อมบาร์โธลินได้ ซึ่งจะทำให้สารหล่อลื่นถูกผลิตออกมาไหลกลับในต่อม ทำให้อาการบวมขึ้นและปวด ซึ่งเรียกว่าถุงน้ำต่อมบาร์โธลิน แต่หากของเหลวสะสมภายในถุงน้ำนั้นเกิดการติดเชื้อ อาจจะทำให้เกิดหนองและกลายเป็นฝีได้

 

ขอขอบคุณวีดีโอจาก : เภสัชนัจจี้ , https://www.youtube.com

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!

โดยวิธีการรักษา โรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst) นั้นจะขึ้นอยู่กับขนาดและอาการที่เกิดจากการอักเสบ ในบางครั้งก็ดูแลตัวเองได้โดยการรักษาถุงน้ำบาร์โธลินได้ หรือ อาจจะรับยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยลดการบวม ติดเชื้อของต่อมบาร์โธลินได้ แต่หากอาการรุนแรงนั้นก็จำเป็นที่จพต้องผ่าตัดเอาถุงน้ำออก

ต่อมบาร์โธลิน

ต่อมบาร์โธลิน

Advertisement

อาการของโรคต่อมบาร์โธลินอักเสบ

หากก้อนนูนหรือถุงน้ำมีขนาดเล็กหรือไม่มีการอักเสบอะไร ผู้ป่วยอาจจะไม่สังเกตหรือรับรู้ถึงอาการดังกล่าว เพราะมักจะไม่มีอาารเจ็บปวด แต่หากใหญ่ขึ้นก็จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกถึงก้อนเนื้อที่บวมขึ้นใกล้บริเวณปากช่องคลอดจะมีอาการดังนี้

  • รู้สึกเจ็บปวดบริเวณก้อนที่นูน
  • รู้สึกไม่สบายตัวเวลานั่งหรือเดิน
  • รู้สึกปวดเวลามีเพศสัมพันธ์
  • อาจจะมีไข้

หากมีอาการปวดในปากช่องคลอด และ อาการไม่ดีขึ้นภายใน 2-3 วัน ควรรีบไปพบแพทย์ หรือ หากผู้ป่วยมีอายุมากกว่า 40 ปี และ พบว่ามีก้อนนูนเกิดขึ้นใหม่บริเวณปากช่องคลอดก็ควรไปพบแพทย์เช่นกัน เพราะสามารถเป็นสาเหตุของโรคร้ายและโรคมะเร็ง

 

สาเหตุของโรคต่อมบาร์โธลินอักเสบ

ต่อมบาร์โธลินเป็นต่อมขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วอยู่บริเวณปากช่องคลอดทั้งสองด้าน โดยปกติมักจะไม่สามารถคลำพบได้ เพราะมีขนาดเล็กมาก โดยอาจจะมีขนาดเพียง 1 เซนติเมตร มีหน้าที่ผลิตสารหล่อลื่นส่งผ่านทางท่อเล็กๆ ไปช่องคลอด หากท่อดังกล่าวนั้นเกิดจากการอุดตัน จะทำให้สารหล่อลื่นนี้ไม่สามารถไหลออกมา เพื่อหล่อลื่นช่องคลอด จึงอาจจะทำให้เกิดการสะสมของสารหล่อลื่นและบวมขึ้นเป็นถุงน้ำได้

โดยสาเหตุของการอุดตันของท่อลำเลียงสารหล่อลื่นในช่องคลอดนั้นยังไม่สามารถรู้ได้แน่ชัด แต่แพทย์เชื่อว่าอาจจะเกิดจากการเติบโตที่ผิดปกติของผิวหนังได้ การได้รับบาดเจ็บ การระคายเคือง ในบางกรณีอาจจะเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในแท้ หนองในเทียง และ การติดเชื้ออีโคไล (E.coli) หรือ แบคทีเรียชนิดอื่นๆ และ โรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst) นั้นมักจะพบบ่อยกับผู้หญิงที่มีอายุ 20-29 ปี

 

การวินิจฉัยโรคต่อมบาร์โธลินอักเสบ

โรคต่อมบาร์โธลิน

โรคต่อมบาร์โธลิน

โดยการวินิจฉัย โรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst) นั้นแพทย์จะสอบถามอาการเบื้องต้น และ ประวัติการรักษาเบื้องต้น รวมถึงอาจจะมีการตรวจภายใน และเก็บตัวอยางสารคัดหลั่งในช่องคลอด ปากมดลูก เพื่อนำไปตรวจสอบในกรณีที่อาจพบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

และหากผู้ป่วยมีอายุมากกว่า 40 ปี หรือ เข้าสู่ช่วงวัยหลังหมดประจำเดือน แพทย์จะทำการตัดชิ้นเนื้อ เพื่อวินิจฉัยเซลล์มะเร็งที่อาจพบได้จากโรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst)

 

การรักษาโรคต่อมบาร์โธลินอักเสบ

โดยอาการในระยะแรก ถุงน้ำที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กและยังไม่เกิดอาการผิดปกติ กับ ร่างกาย ผู้ป่วยอาจไม่จำเป็น ต้องได้รับการรักษาและสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นได้ที่บ้าน และหากเกิดอาการผิดปกติขึ้น รู้สึกเจ็บปวดไม่สบายตัว หรือถุงน้ำกลายเป็นฝี ผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาจากแพทย์

การดูแลตนเองเบื้องต้น

โดยการดูแลตัวเองเบื้องต้นตอนอยู่บ้าน ผู้ป่วยสามารถใช้แช่น้ำอุ่นในอ่างน้ำ หรือ ประคบอุ่น โดยทำวิธีนี้วันละ 2-3 ครั้งก็จะช่วยให้อาการทุเลาะลงและช่วยให้ถุงน้ำแห้งเร็วขึ้น หรือหากมีอาการปวดก็สามารถกินยาอะเซตามิโนเฟน (Acetaminophen) หรือ พาราเซตามอลก็จะช่วย

โรคต่อมบาร์โธลิน

โรคต่อมบาร์โธลิน

การดูแลตนเองเบื้องต้นขณะอยู่ที่บ้าน ผู้ป่วยสามารถใช้วิธีนั่งแช่น้ำอุ่นในอ่างน้ำหรือประคบอุ่น โดยอาจทำวิธีนี้วันละ 2-3 ครั้ง จะช่วยให้อาการทุเลาลงและช่วยให้ถุงน้ำแห้งเร็วขึ้น หากมีอาการปวดก็สามารถรับประทานยาอะเซตามิโนเฟน (Acetaminophen) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่ายาพาราเซตามอล

 

การป้องกันโรคต่อมบาร์โธลิน

การเกิด โรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst) ยังไม่แน่ชัด จึงไม่สามารถพบวิธีป้องกันได้อย่างชัดเจน แต่มีความเกี่ยวข้องกับโรคติดต่อทางเพศสัมพมันธ์ จึงอาจจะลดความเสี่ยงได้โดยรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศอยู่เสมอ และ มีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัย โดยใช้ถุงยางอนามัยถุงครั้งเวลามีเพศสัมพันธ์ ก็จะช่วยลดการสะสมของแบคทีเรียซึ่งเป็นสาเหตุของ โรคต่อมบาร์โธลิน (Bartholin’s Cyst) และหากคิดว่าตัวเองมีอาการของโรคก็ควรทีจะพบแพทย์เพื่อรักษาได้อย่างถูกต้อง

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

อุ้ม ลักขณา เล่า ลูกแพ้อาหาร ลมพิษ ปากม่วง ที่ญี่ปุ่น สงสารลูก แทบขาดใจ

สาวชาวม้ง วัย 17 คลอด ลูกชายแฝด 3 แม่ไม่มีน้ำนม เด็กต้องกินนมผง ขอรับบริจาคช่วยเ หลือเรื่องนม

100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 64 การทานอาหารเสริม ในแม่ท้อง ทำได้ หรือไม่

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

bossblink

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ต่อมบาร์โธลิน อักเสบ เรื่องที่รู้เกี่ยวกับโรคนี้!
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว