X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ความลับน่าตะลึง ที่ซ่อนอยู่ในยีนส์ของเจ้าตัวเล็ก

บทความ 3 นาที
ความลับน่าตะลึง ที่ซ่อนอยู่ในยีนส์ของเจ้าตัวเล็ก

จะดีกว่าไหม ถ้าคุณพ่อคุณแม่รู้ว่าลูกจะเป็นโรคอะไรได้บ้างจากการตรวจดูยีนส์ แทนที่จะรอให้ลูกแสดงอาการออกมาเอง

ดอกเตอร์ โรเบิร์ต กรีน นักเวชพันธุศาสตร์ (Medical Geneticist) แห่งโรงพยาบาล Brigham and Women’s และอลัน เบคส์ จากโรงพยาบาลเด็กบอสตัน กำลังร่วมมือกันทำงานวิจันยเพื่อค้นหาความลับจากยีนส์ของมนุษย์ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นคุณพ่อคุณแม่

โดยครึ่งนึงของเด็กๆ ที่อยู่ในกลุ่มตัวอย่าง ทีมวิจัยจะทำการถอดรหัสพันธุกรรมจากโปรตีน จากลำดับขั้นตอนและการคัดกรอง เพื่อหาปัจจัยหรือความผิดปกติต่างๆ ที่อาจจะทำให้เกิดโรค ขั้นตอนนี้จะเรียกว่า whole exome sequencing หรือ การถอดรหัสพันธุกรรมทุกยีนบนโครโมโซมทุกแท่ง และเด็กๆ ที่เหลือจะเป็นการนำผลเลือดมาทำการทดสอบ ซึ่งจะหาโรคความผิดปกติทางพันธุกรรมของเด็กๆ ได้ อย่างเช่น โรคปอดเรื้อรัง

Mutation ??? มนุษย์กลายพันธุ์ ???

เด็กๆ ทั้งสองกลุ่มนี้ คุณพ่อคุณแม่จะต้องให้ความร่วมมือในการติดตามผลของทีมวิจัยค่ะ ในเรื่องผลกระทบจากยีนส์ต่อเด็กๆ ทุกช่วงวัย ยีนส์มีผลต่อความแข็งแรงของร่างกายหรือไม่ หรือยีนส์นั้นสามารถบอกได้ว่าจะเป็นโรคอะไรได้บ้าง แม้กระทั่งความเปลี่ยนแปลงของยีนส์เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของเด็กกับคุณพ่อคุณแม่หรือไม่ อย่างไร

จากเด็กๆ ทั้งหมด 51 คน มีจำนวนเพียงแค่ 5 คนเท่านั้น ที่มีการกลายพันธุ์ของยีนส์ ในกลุ่มนี้เด็ก 2 คน มียีนส์กลายพันธุ์ที่การรักษาโดยการให้ยาไม่ได้ผล เด็ก 3 คน มียีนส์กลายพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจซึ่งปกติแล้วจะมาจากพันธุ์กรรม แต่ผลปรากฎว่าทั้งคุณพ่อและคุณแม่มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงดีค่ะ

น้ำลายเอเลี่ยนอันตราย ,ของเล่นหน้าโรงเรียน

เสี่ยงเสียชีวิต เพราะยีนส์กลายพันธุ์

คุณแม่ของหนึ่งในเด็กๆ ที่อยู่ในงานวิจัย อลิสาคุณแม่ของหนุ่มน้อยไคย์ มีระบบร่างกายหรือจีโนไทป์(Genotype คือ ส่วนผสมของรูปแบบของยีน) ที่สามารถเผาผลาญคาเฟอีนได้อย่างรวดเร็วกว่าคนปกติ และไม่มีปฎิกิริยาต่อสิ่งระคายเคือง เช่น อลิสาจะไม่จามทันที ในสถานการณ์ที่เจอสิ่งระคายเคืองแบบเฉียบพลัน แต่ผลการตรวจของไคย์กลับออกมาว่าเขาเป็นโรคหลอดเลือดตีบบริเวณ supravalvular (supravalvular aortic stenosis)

ไคย์เป็นเด็กที่มีการกลายพันธุ์ของยีนส์ที่ทำให้โปรตีนอีลาสทินทำงานผิดปกติ ซึ่งปกติแล้วโปรตีนตัวนี้จะช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจยืดออกและหุบเข้าได้ พอมีการกลายพันธุ์กลับทำให้การทำงานของอวัยวะต่างๆ ทำได้ไม่เต็มที่ อาจจะทำให้ไคย์เสียชีวิตได้เลยทีเดียว หรือไม่ก็ต้องได้รับการผ่าตัดหลายๆ ครั้งเมื่อโตขึ้น ดังนั้นคำถามที่ตามมาคือ ไคย์จะเล่นกีฬาได้ไหมเมื่อโตขึ้น ต้องผ่าตัดไหม ถ้าร้องไห้มากๆ จะส่งผลเสียอะไรบ้างไหม

โดยหากเป็นการตรวจทั่วไปโดยปกติแล้ว กว่าจะรู้ว่าไคย์เป็นโรคก็ต้องรอจนกว่าจะมีการแสดงออกของอาการเสียก่อน แต่สำหรับตอนนี้แพทย์ก็ไม่ได้บอกว่าจะรักษาไคย์ยังไงเหมือนกันค่ะ

วิธีการกระตุ้นทารกน้อยในครรภ์ให้อารมณ์ดี

ยีนส์ไม่ได้มีผลแค่ลูก พ่อแม่ก็ด้วย

การกลายพันธุ์ในเด็กๆ หากเกิดขึ้นที่ยีนส์ BRCA2 จะส่งผลต่ออวัยวะภายในร่างกาย เช่น เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ไม่ใช่เด็กๆ เท่านั้นที่จะมีความเสี่ยง แต่พ่อแม่ก็เสี่ยงด้วยเหมือนกันค่ะ

โดยทีมวิจัยทำงานวิจัยชิ้นนี้โดยยึดจริยธรรม ด้วยการไม่เอ่ยถึงผลที่พบ เนื่องจาก ยีนส์ BRCA2 นั้นส่งผลให้ผู้ใหญ่เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง แต่ยังไม่มีกลักฐานใดๆ ว่าจะทำให้เด็กๆ เป็นมะเร็ง

เด็กบางคนก็ไม่ได้มีปัญหา

เนื่องจากต้องมียีนส์กลายพันธุ์ 2 ตัวขึ้นไป จึงจะทำให้เสี่ยงเป็นโรค สิ่งที่น่าห่วงคือข้อมูลเหล่านี้จะมีประโยชน์อย่างมาก เวลาที่เด็กๆ เหล่านี้โตขึ้น และต้องการจะมีครอบครัวเป็นของตัวเอง สิ่งที่น่าหนักใจอีกอย่างนึงก็คือ การให้คุณพ่อคุณแม่ยินยอมร่วมมือในการตรวจคัดกรองลูกๆ ของพวกเขา เพราะแม้ว่าจำนวนคุณพ่อคุณแม่ที่สนใจในการตรวจจะมีจำนวนมาก แต่กลับมีคุณพ่อคุณแม่เพียง 6% เท่านั้นที่ยอมให้ลูกตรวจค่ะ

ที่มา npr

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ความลับน่าตะลึง ที่ซ่อนอยู่ในยีนส์ของเจ้าตัวเล็ก
แชร์ :
  • วิธีการเลือกหมอนหัวทุย เลือกอย่างไรให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับลูกน้อย

    วิธีการเลือกหมอนหัวทุย เลือกอย่างไรให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับลูกน้อย

  • 5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

    5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

  • เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

    เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

  • วิธีการเลือกหมอนหัวทุย เลือกอย่างไรให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับลูกน้อย

    วิธีการเลือกหมอนหัวทุย เลือกอย่างไรให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับลูกน้อย

  • 5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

    5 เมนูเฟรนช์โทสต์ สำหรับเด็ก 1 ปีขึ้นไป ออกแบบไส้ได้หลากหลาย

  • เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

    เด็กสายตาสั้น ต้องระวัง! อาจเป็นโรคซึมเศร้าและวิตกกังวลโดยไม่รู้ตัว

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ