X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ สัมพันธ์รักแม่ลูกให้อิ่มท้องและอิ่มใจ

บทความ 3 นาที
คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ สัมพันธ์รักแม่ลูกให้อิ่มท้องและอิ่มใจ

ชมคลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ เชื่อมความสัมพันธ์สายใยรัก ให้ลูกอิ่มท้อง มีภูมิต้านทานที่แข็งแรง ส่วนแม่ก็อิ่มใจเปี่ยมไปด้วยความสุข

คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ สัมพันธ์รักแม่ลูกให้อิ่มท้องและอิ่มใจ

มาดู คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ กระบวนการเกิดน้ำนมแม่ ประโยชน์น้ำนมแม่ที่ดีต่อลูกน้อย

www.facebook.com/medicalvideofree/videos/232465627229795/

น้ำนมแม่เกิดขึ้นตอนไหน

ช่วงตั้งครรภ์ 16-22 สัปดาห์ จนกระทั่งวันแรกหลังคลอด ร่างกายของแม่ท้องจะผลิตหัวน้ำนม (Colostrum) แต่ปริมาณนั้นยังไม่มากเท่าไหร่ เรียกว่า Lactogenesis I

น้ำนมนั้นถูกสร้างจากการกระตุ้นของฮอร์โมนต่างๆ ทำให้ภายในเต้านมมีท่อนมงอก และแตกแขนงออกตรงปลายๆ และเป็นต่อมน้ำนมในที่สุด จนกระทั่ง เข้าไตรมาสที่ 2 จะมีการสร้างน้ำนมช่วงแรก และในไตรมาสที่ 3 แม่ท้องบางท่านก็มีน้ำนมไหลออกมาเล็กๆ น้อยๆ

สำหรับ Lactogenesis II นั้นเกิดขึ้นกับแม่หลังคลอด ในช่วง 2-3 วันแรกหลังคลอด ร่างกายจะสร้างน้ำนมมากขึ้น ทำให้เต้านมตึง ซึ่งจะเห็นได้ว่า ฮอร์โมนในร่างกายจะเป็นตัวการผลิตน้ำนม แต่หลังจากวันที่ 3-4 น้ำนมนั้นต้องขึ้นอยู่กับการกระตุ้นจากการดูดของทารก หรือนำน้ำนมออกจากเต้า ด้วยการบีบจากมือ หรือปั๊มด้วยเครื่องปั๊มน้ำนม เพื่อกระตุ้นการสร้างน้ำนมได้อย่างต่อเนื่อง

คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่

ฮอร์โมนสำคัญในกลไกการหลั่งน้ำนม

ช่วงหลังคลอด ฮอร์โมน Prolactin จะมีสูง ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้จะทำหน้าที่สร้างน้ำนมไว้ในเต้า ส่วนฮอร์โมน Oxytocin จะมีหน้าที่บีบน้ำนม ทำให้คุณแม่หลังคลอดเจ็บจี๊ด และวิธีที่จะช่วยการกระตุ้นกลไกการหลั่งน้ำนม คือให้ลูกช่วยดูด!

อุ้มลูกให้ดูดนมแม่ถูกวิธี ช่วยกระตุ้นน้ำนม

Advertisement

1.แม่นั่งท่าให้นมแล้วจับพยุงเต้านม เพื่อนำหัวนมเข้าปากลูก ด้วยการวางนิ้วหัวแม่มืออยู่ด้านบนของเต้า ห่างจากลานหัวนมเล็กน้อย นิ้วที่เหลือพยุงเต้านมอยู่ด้านล่าง ใช้นิ้วชี้รั้งผิวหนังใต้นมเพื่อให้หัวนมยื่นออก

2.ใช้หัวนมเขี่ยบริเวณแก้มหรือริมฝีปากของลูกเบาๆ เมื่อลูกอ้าปากกว้างให้ลูกอมงับถึงลานนม โดยให้อมลานนมส่วนล่างมากกว่าลานนมส่วนบน

3.คางลูกแนบชิดกับเต้านมส่วนล่าง ลิ้นของลูกยื่นออกมารีดน้ำนมจากเต้าแม่ได้ดีขึ้น ส่วนจมูกจะห่างออกจากเต้าเล็กน้อย

คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่

อุ้มลูกดูดนมให้ถูกท่า น้ำนมแม่จะไหลต่อเนื่อง ไม่มีปัญหาเต้านม ลูกก็อิ่มท้อง แม่ก็อิ่มใจ

 

ที่มา : FB medicalvideofree

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

ไม่เคยสิ้นศรัทธากับอาณุภาพอันยิ่งใหญ่ของ นมแม่

ท่าอุ้มลูกที่ถูกวิธี แม่ปลอดภัย ไม่เป็นเอ็นข้อมืออักเสบ

เหลือเชื่อกับพัฒนาการของตัวอ่อน กว่าจะมาเป็นทารก!

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
แอลฟาแล็ค สฟิงโกไมอีลิน กุญแจสำคัญเลี้ยงลูกเจนใหม่ให้สมองไวกว่าที่แม่คิด
แอลฟาแล็ค สฟิงโกไมอีลิน กุญแจสำคัญเลี้ยงลูกเจนใหม่ให้สมองไวกว่าที่แม่คิด
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • คลิปจำลองกลไกการให้นมแม่ สัมพันธ์รักแม่ลูกให้อิ่มท้องและอิ่มใจ
แชร์ :
  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

    ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

  • คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

    คนท้องนอนไม่หลับ ควรนอนต่อไหม? หรือควรทำอะไรดี?

  • ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

    ริดสีดวงหลังคลอด สาเหตุ อาการ และวิธีรับมือสำหรับคุณแม่

  • ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

    ไขข้อข้องใจ แพ้ท้องอยากกินของแปลก เพราะอะไร ปกติหรือเปล่า?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว