X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สิทธิประกันสังคมที่คุณแม่ควรรู้

บทความ 3 นาที
สิทธิประกันสังคมที่คุณแม่ควรรู้

ว่าที่คุณแม่ป้ายแดงทราบหรือไม่ค่ะว่าเรามีสิทธิลาคลอดแล้วสามารถรับเงินได้จากทางประกันสังคมด้วย นอกจากนี้ยังมีสิทธิที่สามารถเบิกค่าคลอดบุตร และเงินสงเคราะห์บุตร สำหรับคุณแม่ที่ทำงานหรือผู้ประกันตนเองที่จ่ายเงินสมทบให้กับสำนักงานประกันสังคมอีกด้วย มาดูกัน

Pregnant with hubby

สิทธิประกันสังคมที่คุณแม่พึงจะได้รับ

  • สิทธิลาคลอดและการได้รับค่าจ้าง

สิทธิในการลาคลอดตามกฏหมายกำหนดว่า ลูกจ้างทุกประเภทที่เป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาคลอดตามกฏหมายคุ้มครองแรงงานได้ สามารถลาคลอดเพื่อการคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วัน และใช้สิทธิลาคลอดได้ทั้งก่อนและหลังคลอดโดยที่นายจ้างไม่มีสิทธิ์ยับยั้ง

ในการลาคลอดแต่ละครั้ง ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินค่าจ้างจากนายจ้าง ในอัตราร้อยละ 50 จากเงินเดือน จำนวน 45 วัน และมีสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนจากประกันสังคมอีก 45 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเช่นกัน เฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน (คิดจากฐานเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท) และในกรณีที่มาทำงานก่อนโดยไม่รอให้หยุดครบ 90 วัน คุณแม่จะได้รับค่าจ้างตามปกติในวันที่มาทำงานด้วย

  • สิทธิการได้รับเงินประกันสังคมค่าคลอดบุตร
Advertisement

คุณแม่ต้องเป็นผู้ประกันตน ภายใน 15 เดือนก่อนเดือนคลอดบุตร และจ่ายเงินสมทบประกันสังคมครบ 7 เดือน ตามประกาศตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป คลอดบุตรที่ใดก็ได้ สามารถเบิกได้สูงสุด 13,000 บาทต่อการคลอดบุตร 1 ครั้ง ไม่จำกัดจำนวนครั้ง

ในกรณีที่คุณพ่อคุณท่านใดท่านหนึ่งเป็นข้าราชการ ก็สามารถใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กรณีคลอดบุตรได้ โดยเบิกจ่ายเงินส่วนเกินจากประกันสังคมได้ มีเงื่อนไขดังนี้

  1. ต้องการเป็นการคลอดบุตรจากโรงพยาบาลรัฐเท่านั้น
  2. การเบิกส่วนเกินจากสิทธิประกันสังคม จะต้องเบิกผ่านระบบเบิกจ่ายตรง สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการเท่านั้น (ค่าใช้จ่ายในการคลอดบุตร)โดยสอบถามจากหน่วยงานที่สังกัดอยู่
  3. เมื่อเข้ารับการรักษาเพิ่อคลอดบุตรในโรงพยาบาลแล้ว จะต้องแจ้งขอใช้สิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาลเฉพาะส่วนเกินประโยชน์ทดแทนฯ (แบบ 7106)

ที่มา : kmcenter.rid.go.th

คุณแม่ต้องเป็นผู้ประกันตนและจะต้องจ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีสงเคราะห์บุตรมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือนก่อนที่จะทำเรื่องขอเบิก จะได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 400 บาทต่อบุตรหนึ่งคน ซึ่งเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ โดยใช้สิทธิได้คราวละไม่เกิน 3 คน 

เอกสารจำเป็นที่ต้องเตรียมไปขอรับประโยชน์ได้แก่

– แบบสปส.2-01

– สำเนาสูติบัตรของบุตร

– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน

– ทะเบียนสมรสพร้อมสำเนา (ถ้ามี)

– สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกที่มีชื่อและเลขที่ บัญชี (กรณีขอรับเงินทางธนาคาร)

คุณแม่หรือคุณพ่อสามารถนำมายื่นขอรับประโยชน์ทดแทนได้ที่สำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่/จังหวัดทุกแห่ง หากคุณแม่ท่านใดมีข้อสงสัยสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมได้ที่ https://www.sso.go.th/ หรือสายด่วนประกันสังคม 1506

สิทธิการฝากครรภ์ คลิกที่นี่

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • สิทธิประกันสังคมที่คุณแม่ควรรู้
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว