X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

บทความ 3 นาที
แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่

หากคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นโรคไบโพล่า อาการหลังคลอดจะยิ่งแย่ลงจนอาจจะกลายเป็นโรคจิตหลังคลอดได้นะคะ

โรคไบโพล่าหรือ โรคอารมณ์ 2 ขั้ว เป็นโรคที่มีอาการอารมณ์ผิดปกติ ซึ่งจะมีทั้งอารมณ์เศร้าและอารมณ์ดี โรคไบโพล่านั้นเกิดจากสารเคมีในสมองทำงานผิดปกติ จึงทำให้สมองขาดความสมดุลซึ่งส่งผลให้เกิดอารมณ์ที่ผิดปกติ โดยสาเหตุของการเกิดโรคนั้นก็ยังไม่ชัดเจนว่าเกิดจากสาเหตุอะไร

อาการแย่ลงหลังคลอดลูก

คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ที่มีอาการของไบโพล่า หลังการคลอดลูกมักจะมีการพัฒนาไปเป็นโรคจิตหลังคลอด (postpartum psychosis) ได้ ซึ่งเป็นภาวะที่เป็นอันตรายต่อทั้งลูกและตัวคุณแม่เอง เนื่องจากผู้หญิงที่มีอาการของโรคนี้ มีโอกาสที่จะทำร้ายลูกของตัวเองจนเสียชีวิตได้ หรือไม่ก็ทำร้ายตัวเองได้นั่นเองค่ะ

shutterstock_442144360

และแม้ว่าคุณหมอส่วนใหญ่จะไม่อยากให้คุณแม่ตั้งครรภ์ได้รับยาระหว่างการตั้งครรภ์ แต่ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างการฆ่าตัวตายที่อาจจะเกิดขึ้นได้นั้น สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเกินที่จะมองข้ามไปได้ แนวทางการรักษาส่วนใหญ่จะรักษาโดยการให้ยาลิเทียม (Lithium ) ซึ่งสามารถรักษาอาการคลุ้มคลั่งได้ โดยยาจะเข้าไปลดการกระตุ้นเซลล์ประสาทในสมองให้สงบลงได้

แม้ว่าอาการดูไม่แย่ แต่อาจแย่กว่าที่คิด

Advertisement

โรคจิตหลังคลอดนั้น จะต่างจากภาวะซึมเศร้าหลังคลอด เนื่องจากจะมีอาการเมื่อยล้า วิตกกังวล และมีความคิดยึดติดหรือหลงไหลในบางเรื่อง เช่น วิตกมากไปกับการเลี้ยงลูก หรือเหตุการณ์ต่างๆ เช่น ขณะอาบน้ำลูก อาจจะคิดว่าถ้าลูกหลุดมือจมน้ำละ หรือการล้างมือทุกครั้งก่อนจะอุ้มลูกหรือโดนตัวลูก เพราะกลัวลูกจะติดเชื้อโรค หรือการเช็คว่าลูกยังหายใจอยู่ไหม ทุก 10 นาที

shutterstock_417037948

โดยคุณแม่ที่เป็นโรคจิตหลังคลอดนั้น ในเวลาปกติจะไม่มีการเห็นภาพหลอน หรือมีอาการโรคจิตอื่นๆ แสดงออกเลยด้วย แต่อาการคลุ้มคลั่งจะเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน เกิดความสับสนงงงวย เกิดภาพหลอนเช่นพลังงานมืด หรือมีอะไรออกมาจากร่างกาย และภาพหลอนที่คุณแม่เห็นนั้น อาจจะทำให้เด็กๆ ตกอยู่ในอันตรายได้ค่ะ

แนวทางการรักษา

คุณแม่ที่เป็นไม่มาก จะรักษาโดยการกินยาลิเทียมหลังจากที่คลอดลูกแล้ว ส่วนคุณแม่ที่เป็นหนักและเป็นมานานแล้ว การรักษาจะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหมอที่รักษา แต่ในบางประเทศจะมีการเฝ้าดูอาการของคุณแม่ ที่ควบคุมโดยคุณหมอและผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ในโรงพยาบาลเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง จนกว่าอาการจะดีขึ้นค่ะ

ที่มา news-medical

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • แม่ท้องเป็นไบโพล่า หลังคลอดอาการจะยิ่งเเย่
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว