X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แม่ช็อค!! ลูกหายใจเสียงดัง เอ็กซเรย์เจอก้อนแบตเตอรี่ในหลอดอาหาร

บทความ 3 นาที
แม่ช็อค!!  ลูกหายใจเสียงดัง  เอ็กซเรย์เจอก้อนแบตเตอรี่ในหลอดอาหาร

อุทาหรณ์เตือนใจคุณแม่ที่มีลูกเล็ก เมื่อลูกต้องป่วยหนักเพราะกลืนก้อนแบตเตอรี่เข้าไปโดยไม่มีใครรู้

ลูกป่วย, กลืนของเข้าปาก, กลืนแบตเตอรี่, กินแบตเตอรี่ , เด้เล๋กเอาของเข้าปาก

จากรายงานข่าวในเว็บไซต์ New Zealand crowd-funding site, Givealittle ระบุว่า เมื่อเดือนธันวาคม ปี 2014 ที่ผ่านมา เด็กทารกวัย 8 เดือนคนหนึ่ง ถูกส่งตัวเข้าหอผู้ป่วยหนักที่โรงพยาบาลโอ๊คแลนด์เอ็นเตอร์ไพรส์ เนื่องจากทารกน้อยได้กลืนแบตเตอรี่เข้าไป โดยไม่มีใครทราบนานถึง 4 วัน!!

อแมนดา (Amanda Hacche)  แม่ของเดวอน ทารกน้อยผู้เคราะห์ร้าย เล่าว่า ลูกชายวัยทารกของเธอมีอาการน้ำมูกไหลคล้ายเป็นหวัดและหายใจเสียงดัง เธอจึงพาลูกชายไปโรงพยาบาล  แพทย์วินิจฉัยว่า เดวอนหลอดลมฝอยอักเสบซึ่งเป็นโรคระบบทางเดินหายใจที่พบได้บ่อยในเด็กเล็ก และให้กลับไปรักษาตัวที่บ้าน

ลูกป่วย, กลืนของเข้าปาก, กลืนแบตเตอรี่, กินแบตเตอรี่ , เด้เล๋กเอาของเข้าปาก

หลังจากนั้น 4 วัน อาการของเดวอนแย่ลงเรื่อยๆ อแมนดาจึงตัดสินใจพาลูกไปโรงพยาบาลอีกครั้ง  แพทย์ได้ทำการตรวจร่างกายทารกน้อยอย่างละเอียด และทุกคนก็ต้องตกตะลึง  เมื่อเอ็กซเรย์พบก้อนแบตเตอรี่ในหลอดอาหารของทารกน้อย

 

ลูกป่วย, กลืนของเข้าปาก, กลืนแบตเตอรี่, กินแบตเตอรี่ , เด้เล๋กเอาของเข้าปาก

สารเคมีจากแบตเตอรีทำปฏิกิริยากับน้ำลายและของเหลวในกระเพาะอาหาร  เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี กัดกร่อนและเผาไหม้อวัยวะภายในร่างกายของเดวอน หลอดอาหารเกิดแผลไหม้รุนแรงมีความยาวกว่า 10 เซนติเมตร มีแผลเป็นรูกว้าง 5  เซนติเมตร  หลอดลมและกล่องเสียงโดนสารเคมีจากแบตเตอรี่กัดกร่อนเป็นแผลไหม้ขั้นสาหัส สร้างความเจ็บปวดให้ทารกน้อยอย่างมาก

ลูกป่วย, กลืนของเข้าปาก, กลืนแบตเตอรี่, กินแบตเตอรี่ , เด้เล๋กเอาของเข้าปาก

เดวอนต้องเข้ารับการผ่าตัดเพื่อนำแบตเตอรี่ออกทันที ตั้งแต่เกิดหนูน้อยประสบอุบัติเหตุจนถึงปัจจุบัน (ธันวาคม 2014) เดวอนเข้ารับการผ่าตัดมาแล้วถึง  5 ครั้ง รวมถึงการผ่าตัดใหญ่ที่ใช้เวลานาน 8 ชั่วโมง ระหว่างนั้นปอดและหัวใจของทารกน้อยหยุดทำงานไปแล้ว แต่ยังอยู่ได้เพราะเครื่องบายพาสหัวใจ

ลูกป่วย, กลืนของเข้าปาก, กลืนแบตเตอรี่, กินแบตเตอรี่ , เด้เล๋กเอาของเข้าปาก

หลังการผ่าตัดใหญ่  เดวอนต้องอยู่รักษาตัวและเข้าออกโรงพยาบาลนานถึง 8 เดือน  ทารกน้อยไม่สามารถหายใจหรือออกเสียงได้แบบปกติเนื่องจากหลอดลมและกล่องเสียงถูกทำลายจากสารเคมีในแบตเตอรี่  ทางครอบครัวได้สร้างเพจ devonbaby เพื่อคอยอัพเดทอาการ และรับบริจาคค่ารักษาพยาบาลที่ค่อนข้างสูงของเดวอน

เรื่องราวของเดวอนเป็นอุทาหรณ์ที่ดีมากเพื่อให้ครอบครัวที่ลูกเล็กต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ  เพราะเด็กเล็กมักชอบเอาของเข้าปากไม่ว่าจะเป็นของเล่น เหรียญ หรืออะไรก็ตาม  ดังนั้นหากบ้านไหนมีข้าวของชิ้นเล็กๆ ควรเก็บให้ดี เก็บให้พ้นมือเด็กนะคะ

ที่มา: New Zealand crowd-funding site, Givealittle

ระวัง 16 จุดอันตรายในบ้าน ทำลูกเกิดอุบัติเหตุถึงตาย !

ข้าวของเครื่องใช้อันตรายภายในบ้าน

เมื่อไหร่ที่ต้องนำเด็กป่วยส่งโรงพยาบาล?

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ชื่นชนก เชื้อพันธุ์

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • แม่ช็อค!! ลูกหายใจเสียงดัง เอ็กซเรย์เจอก้อนแบตเตอรี่ในหลอดอาหาร
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว