TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

บทความ 3 นาที
อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต

อย่าเขย่าลูก ไม่ว่าจะแค่เล่นกับลูก หรือทำไปด้วยความโมโห เพราะผลที่ตามมานั้นร้ายแรงกว่าที่คิด ลูกน้อยของคุณอาจพิการหรือถึงขั้นเสียชีวิตจาก shaken baby syndrome

เขย่าลูก อันตรายอย่างไร

วิธีเดียวที่ทารกจะสื่อสารให้คุณพ่อคุณแม่รู้ว่าหนูกำลังมีปัญหาบางอย่าง เช่น ไม่สบายตัว หิว ง่วง เปียกชื้น ปวดท้อง หรือเพียงต้องการแม่มาอยู่ใกล้ๆ คือการร้องไห้ แต่บางครั้งคุณแม่ทำทุกอย่างแล้ว เจ้าตัวน้อยก็ยังไม่หยุดร้อง จนคุณแม่เกิดอารมณ์และเผลอเขย่าทารกด้วยความรู้เท่าไหม่ถึงการณ์ แม่รู้ไหม เขย่าลูก อันตรายถึงชีวิต

บทความแนะนำ 14 วิธีปลอบลูก ช่วยทารกเลิกร้องไห้ให้ได้ผล

Shaken Baby Syndrome เป็นอาการที่เกิดจากการถูกเขย่าอย่างรุนแรง ทำให้สมองได้รับการกระทบกระเทือนจากการที่คอและศีรษะของลูกถูกแรงเหวี่ยงไปมาข้างหน้าและข้างหลังอย่างรุนแรง ในขณะที่กล้ามเนื้อคอของเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบนั้นยังไม่แข็งแรงพอที่จะประคองศีรษะได้อย่างมั่นคง ประกอบกับศีรษะทารกมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดลำตัว ทำให้ส่วนของสมองภายในกะโหลกศีรษะมีเนื้อที่สำหรับการถูกเขย่าไปมาได้มาก และส่วนที่จะป้องกันอันตรายจากการบาดเจ็บทางสมองมีน้อยลง

การถูกแรงเหวี่ยงที่เร็วและแรงเช่นนี้ ทำให้เส้นเลือดบริเวณเยื่อหุ้มสมองฉีกขาด มีเลือดออกภายในสมอง นอกจากนี้แรงเขย่ายังส่งผลให้เส้นเลือดในจอตาขาดได้อีกด้วย

จากสถิติพบว่า เด็กที่มีอาการ Shaken Baby Syndrome 1 ใน 3 สามารถรักษาให้หายเป็นปกติได้ ในขณะที่อีก 1 ใน 3 กลายเป็นคนพิการไปตลอดชีวิต เช่น ไร้สมรรถภาพในการเรียนรู้ ตาบอด หรือเป็นอัมพาตในสมองใหญ่ เป็นต้น และที่น่าเสียใจที่สุดคืออีก 1 ใน 3 นั้นอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

การเขย่านั้นเป็นการใช้ความรุนแรงทางกายที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บไม่น้อยไปกว่าการทุบตี ต่างกันตรงที่บาดแผลที่สามารถมองเห็นได้ ในขณะที่การเขย่า ส่งผลให้เกิดบาดแผลที่อวัยวะภายในซึ่งมองไม่เห็น

สังเกตอาการ Shaken Baby Syndrome

หากคุณพ่อคุณแม่สังเกตพบว่า เจ้าตัวน้อยมีอาการง่วงเหงา ชอบนอน หงุดหงิด อาเจียน และไม่อยากอาหาร อาจเป็นอาการที่สมองได้รับความกระทบกระเทือน ควรพาลูกไปพบคุณหมอโดยเร็วค่ะ

ชมคลิปจำลองความเสียหายของสมองจากการเขย่าลูก ด้านล่างนี้

ที่มา www.doctor.or.th

ภาพประกอบ medicalartlibrary.com

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

บทความจากพันธมิตร
นมสูตร 3 ยี่ห้อไหน? คือที่สุด...ตัวเลือกเหนือระดับเพื่อเด็กเจนใหม่ สมองไวได้มากกว่า
นมสูตร 3 ยี่ห้อไหน? คือที่สุด...ตัวเลือกเหนือระดับเพื่อเด็กเจนใหม่ สมองไวได้มากกว่า
Ask The Expert คุณแม่ถาม คุณหมอตอบ ลูกปลอดภัย ไกลยุงร้าย ง่ายนิดเดียว
Ask The Expert คุณแม่ถาม คุณหมอตอบ ลูกปลอดภัย ไกลยุงร้าย ง่ายนิดเดียว
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด

5 อย่างที่ห้ามทำกับเด็กทารกเด็ดขาด!

20 อาการปกติของทารกแรกเกิดที่ไม่น่ากังวล

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • อย่าเขย่าลูก ถ้าไม่อยากเสียใจไปตลอดชีวิต
แชร์ :
  • เหนื่อยเหลือเกิน! ลูกงอแงไม่ยอมนอน 8 เคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้ลูกหลับง่ายขึ้น

    เหนื่อยเหลือเกิน! ลูกงอแงไม่ยอมนอน 8 เคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้ลูกหลับง่ายขึ้น

  • 10 บอร์ดเกมวางแผน ฝึกสมองลูกให้เฉียบ สำหรับเด็กวัย 4 ขวบ+

    10 บอร์ดเกมวางแผน ฝึกสมองลูกให้เฉียบ สำหรับเด็กวัย 4 ขวบ+

  • สอนลูกให้รู้จักกาลเทศะ 5 พฤติกรรมพื้นฐาน ที่ควรฝึกตั้งแต่เล็ก

    สอนลูกให้รู้จักกาลเทศะ 5 พฤติกรรมพื้นฐาน ที่ควรฝึกตั้งแต่เล็ก

  • เหนื่อยเหลือเกิน! ลูกงอแงไม่ยอมนอน 8 เคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้ลูกหลับง่ายขึ้น

    เหนื่อยเหลือเกิน! ลูกงอแงไม่ยอมนอน 8 เคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้ลูกหลับง่ายขึ้น

  • 10 บอร์ดเกมวางแผน ฝึกสมองลูกให้เฉียบ สำหรับเด็กวัย 4 ขวบ+

    10 บอร์ดเกมวางแผน ฝึกสมองลูกให้เฉียบ สำหรับเด็กวัย 4 ขวบ+

  • สอนลูกให้รู้จักกาลเทศะ 5 พฤติกรรมพื้นฐาน ที่ควรฝึกตั้งแต่เล็ก

    สอนลูกให้รู้จักกาลเทศะ 5 พฤติกรรมพื้นฐาน ที่ควรฝึกตั้งแต่เล็ก

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว