X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อยากให้ลูกเรียนเก่ง แบบไม่เครียด ไม่ต้องเร่งรัด พ่อแม่ต้องทำอย่างไร?

บทความ 3 นาที
อยากให้ลูกเรียนเก่ง แบบไม่เครียด ไม่ต้องเร่งรัด พ่อแม่ต้องทำอย่างไร?

งานวิจัยใหม่เผยสุดยอดฮีโร่ ที่จะช่วยให้ลูกประสบความสำเร็จ เอาชนะความเครียด รับมือกับปัญหาต่างๆ ได้ดี! อยากให้ลูกเรียนเก่ง พ่อแม่คือสุดยอดตัวแปร!!

อยากให้ลูกเรียนเก่ง พ่อแม่ต้องทำอย่างไร?

พ่อแม่หลายคน อยากให้ลูกเรียนเก่ง แต่ก็ไปกดดันที่ลูก ทำให้ลูกเกิดความเครียด ซึ่งความเครียดในเด็กสงผลร้ายต่อพัฒนาการด้านการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตในระยะยาวอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ทำให้ผลการเรียนของลูกไม่ดี เรียนไม่ทันเพื่อน ไม่ตั้งใจเรียน ไม่อยากไปโรงเรียน เพราะทุกเรื่องที่เกิดในโรงเรียนไม่ได้จบแค่ในโรงเรียน พ่อแม่จึงมีส่วนสำคัญอย่างมากในการช่วยผลักดันให้ลูกเอาชนะความเครียด ก้าวข้ามอุปสรรค์และความยากลำบากที่เกิดขึ้นไม่แต่เฉพาะในโรงเรียน แต่ยังรวมไปถึงอุปสรรค์ต่างๆในชีวิตได้ด้วย

วิจัยชี้ พ่อแม่มีส่วนช่วยลูกได้

ผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในวารสารกุมารแพทย์ The Medical Journal Pediatrics พบว่าพฤติกรรมพื้นๆของพ่อแม่ สามารถส่งผลกระทบอย่างมหาศาลทั้งดีและร้ายต่อลูกในระยาวได้ ผู้นำการวิจัย พญ.แองเจลิก้า โรเบลส์ (Angeliga Robels.M.D.) กุมารแพทย์ จากศูนย์สุขภาพพัฒนาการด้านพฤติกรรมกุมารเวชโนวาล (Novant Health Developmental-Behavioral Pediatrics) เมืองชาร์ลอตต์ รัฐนอร์ท แคโรไลนา ได้ทำการสำรวจ เด็กในประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน 65,000 คน ช่วงอายุ 6-17 ปี ตั้งแต่ปี 2011-2012 พบว่าเด็กที่ใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความรุนแรง สภาพเศรษฐกิจไม่ค่อยดี ติดยา สมาชิิกในครอบครัวอาการป่วยทางจิต สูญเสียสมาชิกในครอบครัว ถูกพ่อแม่กักขัง พ่อแม่หย่าร้าง ส่งผลกระทบต่อการแสดงออกที่โรงเรียนอย่างมาก ทำให้เด็กไม่ตั้งใจเรียน ไม่ทำการบ้านที่ยากเกินไป ผลการเรียนตกต่ำ และมีโอกาสเรียนซ้ำชั้นถึง 3 เท่า

ผลการวิจัยยังพบอีกว่า การที่พ่อแม่ใส่ใจรับฟังลูกให้มากขึ้นจะช่วยให้ลูกเอาชนะความเครียดและอุปสรรคต่างๆที่โรงเรียนได้ง่ายขึ้น งานวิจัยยังยืนยันอีกว่า พ่อแม่ที่ให้ความเอาใจใส่ ใจดีไม่เข้มงวดเกินไป ให้ความสำคัญกับการรับฟังและมีความเห็นอกเห็นใจลููก  เป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้เด็กๆรับมือและจัดการกับปัญหาต่างๆได้ดีขึ้น ผลการเรียนดีขึ้น ใส่ใจกับการเรียน ยอมทำการบ้าน มีความสุขในโรงเรียนมากขึ้นถึง  6 เท่า แม้จะเคยเป็นเด็กมีปัญหาที่โรงเรียนหรือที่บ้านมาก่อนก็ตาม 

อยากให้ลูกเรียนเก่ง-แบบไม่เครียด-ไม่ต้องเร่งรัด

อยากให้ลูกเรียนเก่ง แบบไม่เครียด ไม่ต้องเร่งรัด

ข้อแนะนำจากคุณหมอ

Advertisement

แต่นอกจากการรับฟังจากพ่อแม่แล้วพญ.แองเจลิก้ายังกล่าวแนะนำไว้ในบทบรรณาธิการของงานวิจัยว่า การรับประทานอาหารพร้อมหน้ากันทั้งครอบครัวอย่างน้อย 5 มื้อต่อสัปดาห์ หรือมากเท่าที่ทำได้ และมีที่อยู่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีบรรยากาศร่มรื่น จะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขและสามารถเรียนรู้ทักษะทางวิชาการได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นก็  รวมไปถึงการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคุณครูที่โรงเรียนก็ช่วยได้มาก

พญ.แองเจลิก้า ยังกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า “เด็กจะมองดูตัวอย่างจากผู้ใหญ่ที่แวดล้อมอยู่ใกล้ตัว แม้แต่วัยรุ่นที่ดูเหมือนไม่ยอมฟังคำแนะนำจากใครก็ตาม แต่หากจะคอยจับตาดูตัวอย่างจากผู้ใหญ่ทุกฝีก้าวและต้องการการยอมรับในตัวตนที่เขาเป็นจริงๆมากกว่า”

งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าหน้าที่การเป็นพ่อแม่นั้นสำคัญขนาดไหน และไม่ใช่งานง่ายๆ แต่ถ้าการใส่ใจรับฟัง เปิดโอกาสให้ลูกได้พูดคุยมากขึ้นเพื่อให้พ่อแม่ได้เข้าใจและยอมรับตัวตนที่แท้จริงของลูก  สามารถช่วยสร้างเกราะ และติดอาวุธทางความคิดให้ลูกได้ ทำให้สามารถรับมือและจัดการกับปัญหาได้ดีขึ้นในอนาคตก็คุ้มที่จะพยายามนะคะ อนาคตที่ดีของลูกอยู่ในมือคุณนั่นเองค่ะ

ความคิดเห็นของคุณคืออะไร

ขอบคุณข้อมูล romper

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้

70 ประโยคภาษาอังกฤษคุยกับลูก จำง่ายๆ ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ลูกเก่งภาษาได้ไม่ยาก

ลูกวัยอนุบาล จำเป็นต้องเรียนพิเศษไหม ลูกวัยนี้พ่อแม่ควรให้ลูกเรียนเสริมอะไรดี?

เอาวัยเด็กของหนูมา!! หมอบอก ลูกเข้าเรียนเร็ว ให้ลูกเรียนมาก อาจทำให้ลูกสมาธิสั้น?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ชลลดา วาดนิ่ม

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • อยากให้ลูกเรียนเก่ง แบบไม่เครียด ไม่ต้องเร่งรัด พ่อแม่ต้องทำอย่างไร?
แชร์ :
  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว