X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

บทความ 3 นาที
6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!

ในระหว่างตั้งครรภ์สิ่งที่คุณแม่กลัวและวิตกกังวลอันดับต้น ๆ คือภาวะการเสี่ยงแท้งของลูกในท้อง หรือโอกาสที่ทารกจะเสียชีวิตในครรภ์ ซึ่งหากเกิดการสูญเสียกับเรื่องแบบนี้ต้องกลายเป็นเรื่องน่าเศร้าที่สุดในชีวิตแน่นอน

 

ทารกตายในครรภ์นั้น หมายถึงการตายของทารกก่อนคลอดโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์ แบ่งเป็น การเสียชีวิตก่อน 20 สัปดาห์, เสียชีวิตระหว่าง 20-28 สัปดาห์ และตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป ส่วนทารกตายคลอดนั้น เป็นการเสียชีวิตของทารกต่อเมื่อมีอายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ เมื่อคลอดออกมาแล้วไม่มีอาการแสดงของการมีชีวิต ไม่มีการหายใจเอง ไม่มีการเต้นของหัวใจ และไม่มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออกมาแล้วเสียชีวิตทันทีด้วย

ทารกเสียชีวิตในครรภ์

6 ลักษณะของแม่ท้องที่ต้องระวังความเสี่ยงในการเสียชีวิตของทารกในครรภ์

1.คุณแม่ที่ตั้งครรภ์เมื่อมีอายุมาก เนื่องจากสภาพของครรภ์มีความสมบูรณ์ลดลงตามวัย

2.คุณแม่ที่มีน้ำหนักตัวมาก หรือเป็นโรคอ้วน มีปัญหาเรื่องน้ำหนักเกิน

Advertisement

3.คุณแม่ที่มีโรคประจำตัวในกลุ่มโรคเรื้อรังเช่น เบาหวาน ความดันโลหิต โรคหัวใจ หรือโรค SLE

4.คุณแม่ที่ตั้งครรภ์ทารกแฝดหลายคนพร้อมๆ กัน

5.คุณแม่ที่มีอาการติดสุราหรือสารเสพติด

6.คุณแม่ที่ได้รับอุบัติเหตุในช่วงตั้งครรภ์

ลักษณะเหล่านี้อาจมีโอกาสเสี่ยงให้ทารกมีโอกาสเสียชีวิตในครรภ์ได้ หากคุณแม่อยู่ในกลุ่มที่มีลักษณะเสี่ยงดังกล่าวหรือมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ คุณแม่ควรจะต้องได้รับการดูแลครรภ์จากคุณหมออย่างทันท่วงทีและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ซึ่งเทคโนโลยีทางการแพทย์ในปัจจุบันก็จะสามารถช่วยประคับประคองการตั้งครรภ์ และลดโอกาสการเสียชีวิตของทารกในครรภ์ลงได้

ดังนั้นในระหว่างที่คุณแม่ตั้งครรภ์อยู่ควรสังเกตอาการของตนเองบ่อย ๆ หากพบความผิดปกติที่เกิดขึ้น เช่น น้ำหนักไม่ขึ้นอย่างเหมาะสมกับอายุครรภ์ หรือถึงช่วงอายุครรภ์ที่ลูกในท้องควรดิ้นแต่กลับพบว่ามีการดิ้นน้อย หรือหยุดดิ้น ควรจะรีบไปปรึกษาอาการกับแพทย์เพื่อตรวจอาการของทารกในครรภ์

อย่างไรก็ตามหากคุณแม่ที่มีลักษณะเสี่ยงดังกล่าว ไม่ควรเครียดและวิตกกังวลจนเกินไป หากคุณแม่มีการดูแลตนเองตามโภชนาการที่ถูกต้อง ได้ออกกำลังกาย ไปพบแพทย์ตามเวลาและหมั่นสังเกตอาการตนเองเสมอ ก็จะช่วยการตั้งครรภ์ของคุณแม่ดำเนินต่อไปได้อย่างราบรื่น และเฝ้ารอการที่ลูกน้อยจะได้ออกมาดูโลกด้วยความรู้สึกสบายใจ.

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

ขอบคุณที่มา : www.mumbabe.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
สาเหตุของการตายคลอด
แท้งได้ หากแม่ท้องเครียดจัด

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • 6 ลักษณะแม่ท้องที่ต้องระวังทารกตายในครรภ์!!
แชร์ :
  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว