X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17

บทความ 3 นาที
พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17

อยากรู้ใช่ไหมคะว่าพัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17 เป็นอย่างไร เรามาแอบดูลูกในท้องของคุณกันว่าเขาเป็นอย่างไรบ้างในสัปดาห์นี้

พัฒนาการการตั้งครรภ์ สัปดาห์ที่ 17

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17

พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วงสัปดาห์ที่ 17

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17  กระดูกของลูกเปลี่ยนจากกระดูกอ่อน เป็นกระดูกแข็ง สายสะดือที่เป็นส่วนลำเลียงอาหาร และ อากาศของลูกหนา และ แข็งแรงขึ้น น้ำหนักของลูกในอาทิตย์นี้อยู่ที่ประมาณ 140 กรัม หรือเท่ากับขนาดของหัวผักกาด ลูกยาว 5 นิ้วเมื่อวัดจากหัวถึงก้น ลูกสามารถขยับข้อต่อต่าง ๆ ได้ ที่สำคัญร่างกายเริ่มสร้างต่อมเหงื่อแล้ว

ช่วงนี้เจ้าตัวน้อยจะเติบโตเร็วมากค่ะ น้ำหนักของทารกเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า และ จากศีรษะถึงส่วนล่างสุดมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร
• ในช่วงนี้เจ้าตัวน้อยยังผอมมากค่ะ ผิวหนังจะแผ่ตรึงอยู่ทั่วร่างกายน้อย ๆ ของเขา หลอดเลือดซึ่งคอยลำเลียงเลือด ที่ประกอบไปด้วยออกซิเจนไป จะทำให้มองเห็นได้ผ่าน ทางผิวหนังโปร่งแสง ช่วงนี้ถ้าวัดอัตราการเต้นของหัวใจของ คุณแม่ (ง่าย ๆ เพียงแค่กำหนดความรู้สึกไปที่ ข้อมือด้านในฝั่งเดียวกับนิ้วหัว คุณแม่ มือ) และ นำอัตรานั้นไปคูณสอง คุณแม่ ก็พอจะทราบค่ะว่าเจ้าตัวน้อยในครรภ์มีอัตราการเต้นของหัวใจเท่าไหร่
• เจ้าตัวน้อยมีขาแล้วนะคะในช่วงสัปดาห์ที่ 17 ซึ่งเกือบจะไม่สมส่วนเมื่อเทียบกับส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย แต่ขาเหล่านี้จะยาวกว่าแขน และ งอบริเวณหัวเข่า และ ข้อเท้า ช่วงนี้แคลเซียมจะเริ่มสะสมตัวอยู่ในกระดูก ดังนั้นให้ คุณแม่ ทานอาหารประเภทนมเป็นประจำค่ะ
• ในขั้นนี้เมื่อทำ อัลตราซาวด์ จะเห็นได้ชัดค่ะว่าเจ้าตัวน้อย ในครรภ์เป็นเพศอะไร หากเป็น เด็กผู้หญิง รังไข่ของเขาจะประกอบไปด้วย ไข่ทุกใบที่ทารกจะมีตลอดชีวิตคือ ประมาณ 3 ล้านใบ หากเป็น เด็กผู้ชาย แขนขาจะยังอยู่ในตำแหน่งเหนือท้องของทารก หัวนมขนาดเล็ก ๆ จะเริ่มมองเห็นได้ตรงบริเวณผนังหน้าอกของเขาค่ะ
• ฟันหลัก ฟันทารก หรือ ฟันน้ำนมจะเริ่มก่อตัวขึ้นในเหงือก และ ทำหน้าที่สำคัญต่อ การพัฒนาการ ของช่องปากของเจ้าตัวน้อย ช่วงนี้ ฟลูออไรด์ที่ คุณแม่ ได้รับจากการดื่มน้ำจะ ช่วยสร้างเคลือบฟันที่ แข็งแรง บนฟันเหล่านี้รวมไป ถึงฟันแท้ได้ค่ะ
• เจ้าตัวน้อยในครรภ์สามารถหาว ยืดตัว และ ทำหน้าบูดบึ้งได้นะคะ แต่เขาจะยังหลับเป็นเวลานาน และ จะมีช่วงเวลาที่ต้องการขยับตัว และ บริหารกล้ามเนื้อค่ะ
• ในช่วงนี้ เจ้าตัวน้อยในครรภ์เริ่มมีลายนิ้วมือแล้ว ซึ่งจะเป็นสิ่งหนึ่งที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัวแยก ความแตกต่างระหว่างเจ้าตัวน้อยของ คุณแม่ ออกจากคนอื่น ๆ ได้อย่างแท้จริงค่ะ

Advertisement

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17

สิ่งที่คุณสามารถทำได้ตอนนี้

ตอนนี้ร่างกายของ คุณแม่ อาจจะมีจุดศูนย์ถ่วงที่เปลี่ยนไป เนื่องจากท้องของ คุณแม่ เริ่มใหญ่ขึ้น เลยทำให้คุณรู้สึกเหมือน ว่าคุณจะล้มได้ง่าย ๆ มาก ๆ คุณควรหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจ เสี่ยงต่อการหกล้ม ใส่รองเท้าพื้นราบ เพื่อป้องกันการสะดุดก่อให้เกิดการกระแทกบริเวณหน้าท้อง ซึ่งอาจจะส่งผลอันตรายต่อ ลูกในท้องได้ ทุกครั้งที่คุณนั่งรถ หรือขับรถเพื่อความปลอดภัย อย่าลืมคาดเข็มขัดนิรภัยนะคะ วิธีการคาดเข็มขัดนิรภัยระหว่างตั้งครรภ์คือ ใช้เข็มขัดคาดบริเวณใต้ท้อง ส่วนเส้นที่อยู่ด้านบนให้คาดไว้ใต้หน้าอก

นอกจากนี้คุณอาจจะสังเกตได้ว่าตาของคุณแห้ง คุณสามารถใช้น้ำตาเทียมได้ค่ะ แต่ถ้าหากรู้สึกระคายเคืองเมื่อ ใส่คอนแท็กเลนส์ก็ลองเปลี่ยนมา ใส่แว่นตาแทนจนกว่าจะคลอดลูกนะคะ

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่

ที่มาอ้างอิง huggies.co.th

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ และ คอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่ คุณแม่ เลือก นอกจากสาระความรู้ที่เรามอบให้ คุณแม่ ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่นรวมถึงสื่อ มัลติมีเดียหลากหลายที่ช่วยตอบโจทย์ ทุกความต้องการของ คุณแม่ ยุคใหม่ ที่ต้องทำงาน และ ดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจ และ พร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอดเพื่อให้หุ่นของ คุณแม่ หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  theAsianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุน คุณพ่อ คุณแม่ ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้ คุณแม่ และ เด็ก ที่เต็มเปี่ยม และ ตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และ กิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

อาการที่พบบ่อยช่วงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2

พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 18

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

จุฑาทิพ ดันน์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 17
แชร์ :
  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

  • เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

    เล่นกับลูกยังไงให้ฉลาด? 10 วิธี กระตุ้นประสาทสัมผัสลูกในครรภ์

  • ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
    บทความจากพันธมิตร

    ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์

  • ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

    ถอดแหวนไม่ได้ ทําไงดี ? วิธีถอดแหวนด้วยตัวเอง เมื่อคนท้องนิ้วบวม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว