X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ผลวิจัยเผย เเม่ท้องอ้วนเกินไปอันตรายทั้งเเม่ทั้งลูก

บทความ 3 นาที
ผลวิจัยเผย เเม่ท้องอ้วนเกินไปอันตรายทั้งเเม่ทั้งลูก

คุณแม่รู้ไหมคะว่าหากตั้งครรภ์ระหว่างที่น้ำหนักเกินมากๆ ลูกในท้องจะเสี่ยงหลายเรื่องเลยนะคะ

เนื่องจากไม่มีมาตรฐานน้ำหนักในการตั้งครรภ์ ทางผู้เชียงชาญจึงแนะนำให้คุณแม่ที่กำลังจะเตรียมตัวตั้งครรภ์หรืออยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ หันมารับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ และออกกำลังกายเบาๆ อย่างน้อยวันละครึ่งชั่วโมงค่ะ

ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากคลินิกและโรงพยาบาลต่างๆ ได้ออกมาเตือนว่า การจัดการปัญหาโรคอ้วนของคุณแม่ ต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระหว่างการตั้งครรภ์ และหลังการตั้งครรภ์ค่ะ เนื่องจากมีข้อมูลและหลักฐานมากมายที่บ่งบอกว่าแม่และลูกอาจจะเสี่ยงมีโรครุมเร้าได้

shutterstock_132891266

แม่เป็นโรคอ้วน ลูกก็เป็นโรคอ้วน

นอกเหนือจากน้ำหนักที่เกินมาเยอะแล้ว คุณแม่ยังมีความเสี่ยงที่จะแท้งลูก เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ครรภ์เป็นพิษ คลอดธรรมชาตไม่ได้จำเป็นต้องผ่าคลอด และยังส่งผลถึงลูกโดยตรง ลูกอาจจะพิการตั้งแต่กำเนิด ลูกอาจจะมีภาวะอ้วนตั้งแต่แรกเกิดและมีภาวะอ้วนในระยะยาวต่อไปเรื่อยๆ

มาตรฐานน้ำหนักของแม่ท้องอยู่ตรงไหน ?

เนื่องจากที่ผ่านมาไม่มีหน่วยงานหรือองค์กรไหน ที่เข้ามาดูแลควบคุมหรือแนะนำ เรื่องน้ำหนักของคุณแม่เวลาตั้งครรภ์ จึงทำให้ไม่มีมาตรฐาน ว่าแค่ไหนถึงเรียกว่าอ้วนเกินไปแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับทั้งแม่และลูกค่ะ

Advertisement

shutterstock_85330531

เมื่อคุณแม่อ้วน คุณแม่ก็มีความเสี่ยงสูง

ในปี 2008 ที่ผ่านมา ทีมวิจัยได้ลองยื่นมือเข้าช่วยเหลือคุณแม่ท้องที่มีน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน ในการเพิ่มการเผาผลาญและลดน้ำหนักระหว่างที่ตั้งครรภ์ มีการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานด้วย ในงานวิจัยนั้นบอกว่า 50-60 เปอร์เซนต์ของแม่ตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วนนั้น จะน้ำหนักขึ้นอีกระหว่างที่กำลังตั้งครรภ์ และแม่ในกลุ่มเหล่านี้ส่วนใหญ่จะไม่สามารถคลอดธรรมชาติได้ ต้องผ่าคลอดเท่านั้น และหลังจากการคลอดลูกแล้ว คุณแม่ในกลุ่มเหล่านี้ก็จะมีความเสี่ยงสูงที่จะมีภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำ ให้นมลูกก็ลำบากกว่าคุณแม่ที่น้ำหนักไม่เกิน และมีภาวะซึมเศร้า

ป้องกันดีกว่าตามแก้ไข

รู้อย่างนี้แล้ว คุณแม่ที่มีน้ำหนักเกิน หรือ ว่าที่คุณแม่ที่กำลังเตรียมตัวตั้งครรภ์ ถ้าน้ำหนักตัวเกินค่า BMI อยู่มาก และอยากจะลดน้ำหนักก่อนการคลอดลูก ทางที่ดีที่สุดคือปรึกษาคุณหมอ ว่าแนวทางของตัวเองจะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างไรได้บ้างนะคะ ทั้งนี้ถ้าไม่แน่ใจเรื่องการรับประทานอาหาร จะพบนักโภชนาการหรือนักกำหนดอาหาร ก็จะทำให้คุณแม่มีแนวทางที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้นไปอีกค่ะ

และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ การลดความเสี่ยงทุกอย่างที่อาจเกิดขึ้นกับลูก และยืดระยะเวลาในการอยู่กับลูกให้นานที่สุดยังไงละคะ

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

ที่มา sciencedaily

 

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ผลวิจัยเผย เเม่ท้องอ้วนเกินไปอันตรายทั้งเเม่ทั้งลูก
แชร์ :
  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว