X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทำไมการผ่าคลอด ถึงทำให้ร่างกายคุณเเม่รุ่นต่อๆ ไป ไม่เหมาะกับการมีลูก

บทความ 3 นาที
ทำไมการผ่าคลอด ถึงทำให้ร่างกายคุณเเม่รุ่นต่อๆ ไป ไม่เหมาะกับการมีลูก

เมื่อเทคโนโลยีเข้ามาขัดกับธรรมชาติ เรื่องที่ไม่ปกติอย่างการผ่าคลอด อีกไม่นานก็จะกลายเป็นเรื่องธรรมดา นั่นเป็นเพราะอะไรกันเเน่

แม้ปัจจุบันนี้การแพทย์ที่แสนจะล้ำสมัย ทำให้การตั้งครรภ์และการคลอดลูกปลอดภัยมากกว่าขึ้นกว่าสมัยก่อนเยอะนะคะ แต่เมื่อไม่นานมานี้ มีการพบว่าการผ่าคลอดนั้นมีผลกระทบต่อวิวัฒนาการของมนุษย์ อย่างโครงสร้างกระดูกของคุณแม่เมื่อเวลาผ่านล่วงไปค่ะ

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร Proceedings of the National Academy of Sciences พบคำถามที่น่าสงสัยในเรื่องของกระดูกเชิงกรานของคุณแม่แต่ละคนแตกต่างกัน ซึ่งหมายความว่าไม่ใช่ผู้หญิงทุกคนที่จะมีสรีระที่เหมาะแก่การคลอดลูก แต่คำถามคือทำไมวิวัฒนาการของมนุษย์จึงเป็นเช่นนั้นละ

ผู้หญิงกระดูกเชิงกรานเล็กไม่ควรมีลูก เป็นการคัดเลือกทางธรรมชาติ

อ้างอิงจากข้อมูลในปี 1960 ทารกจำนวน 30 ใน 1,000 คน ที่ไม่สามารถคลอดธรรมชาติได้ เนื่องจากเด็กทารกไม่พอดีกับขนาดกระดูกเชิงกรานของคุณแม่ และเมื่อไม่นานมานี้ตัวเลขนี้ก็ได้ขยับขึ้นเป็น 36 ใน 1,000 คน แล้วละค่ะ

สาเหตุของโรคภูมิแพ้,ความเสี่ยงของการผ่าคลอดกับโรคภูมิแพ้,ภูมิแพ้ในเด็ก

ตามทฤษฎีแล้วจะบอกว่าเป็นกฎการคัดเลือกจากธรรมชาติ ที่กำหนดให้ผู้หญิงที่มีกระดูกเชิงกรานแคบ ไม่เหมาะสมสำหรับการมีลูก (โดยในสมัยก่อนคืออาจจะไม่รอดทั้งแม่ทั้งลูก) แต่ด้วยเทคโนโลยีและการแพทย์สมัยใหม่ทำให้การผ่าคลอดสามารถช่วยชีวิตเด็กและช่วยให้คุณแม่คลอดได้อย่างปลอดภัย สรีระกระดูกเชิงกรานที่แคบ จึงยังถูกส่งมาสู่รุ่นต่อรุ่น

Advertisement

การฝืนธรรมชาติ=ปกติ

โดยอีกมุมหนึ่งก็สามารถมองได้ว่า เป็นแรงผลักที่มีวิวัฒนาการกำลังต่อต้านกฎเกณฑ์เดิมๆ อยู่ ซึ่งจะกลายเป็นว่ากระดูกเชิงกรานของคุณแม่แคบเท่าเดิม ขณะที่ขนาดศีรษะของเด็กทารกใหญ่มากขึ้น ก็สามารถมองในแง่ดีได้ว่าเด็กๆ มีความแข็งแรงที่มากขึ้นกว่าในอดีต แต่ก็กลายเป็นว่าเคสที่ต้องผ่าคลอดก็เยอะขึ้นตามค่ะ

ทีมวิจัยมองว่าหากกระบวนการเหล่านี้ยังดำเนินต่อไป ความจำเป็นที่จะต้องทำการคลอดโดยการผ่าคลอดนั้น ก็จะเพิ่มขึ้นจาก 10% เป็น 20% และการผ่าคลอกก็จะมีแนวโน้มว่าเป็นเรื่องปกติมากขึ้น กว่าเดิมที่เป็นอยู่แล้วนั่นเองค่ะ

ที่มา Romper

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ลูกที่เกิดจากแม่ผ่าคลอด ฉลาดกว่าจริงหรือ

การฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานสำหรับผู้หญิงตั้งครรภ์

parenttown

บทความจากพันธมิตร
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เทคนิคเลือกขวดนมเด็ก ลดอาการโคลิค ขวดนมสีชา ขวดนมสีใส แบบไหนเหมาะกับลูกน้อย
เทคนิคเลือกขวดนมเด็ก ลดอาการโคลิค ขวดนมสีชา ขวดนมสีใส แบบไหนเหมาะกับลูกน้อย
Attitude Mom เครื่องปั๊มนมแบรนด์ไทย ฉลองครบรอบ 10 ปี พร้อมเปิดตัวเครื่องปั๊มนมไร้สาย Easy Life III และ Application Attitude Mom
Attitude Mom เครื่องปั๊มนมแบรนด์ไทย ฉลองครบรอบ 10 ปี พร้อมเปิดตัวเครื่องปั๊มนมไร้สาย Easy Life III และ Application Attitude Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • /
  • ทำไมการผ่าคลอด ถึงทำให้ร่างกายคุณเเม่รุ่นต่อๆ ไป ไม่เหมาะกับการมีลูก
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว