TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทารกเสียชีวิต หลังถูกแพทย์ขลิบหนังหุ้มปลาย

บทความ 3 นาที
ทารกเสียชีวิต หลังถูกแพทย์ขลิบหนังหุ้มปลาย

พิธีขลิบหนังหุ้มปลายในเด็ก ถือเป็นเรื่องที่ถูกถกเถียงกันในวงการแพทย์พอสมควร แต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ เรื่องนี้กลับมาเป็นกระแสรุนแรงอีกครั้ง เมื่อทารกอายุ เพียง 22 วัน เสียชีวิตลงหลังจากถูกแพทย์ขลิบหนังหุ้มปลาย

เด็กชาย Ryan Heydari เสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 22 วัน หลังจากถูกขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ซึ่งพ่อแม่ของเด็กชาย ทั้งนาย John Heydari และนาง Homa Ahmadi ไม่เคยมีความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีนี้และไม่เคยคิดว่ามันจำเป็นกับลูกชายแต่อย่างใด ซึ่งพวกเขาไม่เคยมีความคิดที่จะให้ลูกชายขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมาก่อนเลยด้วย แต่เพราะคำเชื้อชวนของแพทย์ที่ดูแล พวกเขาจึงตกลงที่จะให้แพทย์ทำพิธีขลิบให้กับ Ryan

ขลิบหนังหุ้มปลาย

ภาพของหนูน้อย Ryan ที่เสียชีวิตลงเมื่ออายุเพียง 22 วัน หลังจากที่ถูกแพทย์ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศให้  (รูปภาพจาก : newagepregnancy.com)

หลังจากพิธีขลิบ John และ Homa สังเกตเห็นว่า หนูน้อย Ryan มีอาการผิดปกติ ไม่สบายตัวและยังร้องไห้โยเยอย่างหนัก อีกทั้งแผลที่เกิดจากการขลิบที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ยังมีเลือดไหลไม่หยุดอีกด้วย ทั้งพ่อและแม่จึงรีบพา Ryan ไปส่งโรงพยาบาล North York General Hospital ซึ่งแพทย์พบว่า หนูน้อย Ryan เสียเลือดไปกว่า 40% จนกระทั่งเกิดอาการช็อกจากการสูญเสียเลือดเป็นอย่างมาก และเสียชีวิตในเวลาต่อมา

John และ Homa ยังคงรอคอยคำตอบจากสถาบัน Ontario College of Physician and Surgeons กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และต้องการจะทราบว่าทางสถาบันจะมีวิธีป้องกันอย่างไรที่จะไม่ให้เรื่องแบบนี้เกิดขึ้นกับครอบครัวคนอื่น ๆ อีก

ขลิบหนังหุ้มปลาย

นาย John Heydari และนาง Homa Ahmadi พ่อแม่ของหนูน้อย Ryan (รูปภาพจาก : newagepregnancy.com)

อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีบทลงโทษเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ผิดพลาด ละเลย หรือเพิกเฉยใด ๆ กับเรื่องราวที่เกิดขึ้นครั้งนี้ มีเพียงข้อความขึ้นเตือนพ่อแม่รายอื่น ๆ ผ่านทางเว็บไซต์ ว่า “ไม่แนะนำการขลิบหนังหุ้มปลายให้กับเด็กแรกเกิดทุกคน”

ขลิบหรือไม่ขลิบ จำเป็นหรือไม่ คลิ๊กอ่านหน้าถัดไปเลยค่ะ

ปัจจุบันสมาคมกุมารแพทย์ของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย และแคนาดา แนะนำว่าการขลิบไม่ได้เป็นแบบแผนปฏิบัติสำหรับทารกโดยทั่วไป ควรทำเฉพาะคนที่มีความจำเป็น เช่น มีปัญหาผิดปกติในการปัสสาวะ หรือเป็นเรื่องทางศาสนาหรือเชื้อชาติ เช่น นับถือศาสนาอิสลามหรือเชื้อชาติยิว

  1. ไม่มีความจำเป็นต้องขลิบ เพราะไม่ใช่เด็กทุกคนจะมีปัญหาหนังหุ้มปลายมากเกินไปแล้วรูดไม่ขึ้น หากเด็กไม่มีได้ปัญหาดังกล่าวก็ไม่จำเป็นต้องขลิบ ควรปล่อยไปตามธรรมชาติสร้างมา
  2. ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันในทางการแพทย์ ว่าการขลิบช่วยลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งในอวัยวะเพศชาย การติดเชื้อ HPV ลดการติดเอดส์หรือโรคทางเพศสัมพันธ์จากคู่นอน ระบบทางเดินปัสสาวะอักเสบ ฯลฯ เหล่านี้จริงหรือไม่ หากจริงก็เป็นอัตราส่วนที่น้อยมากจนแทบไม่มีนัยสำคัญ
  3. หากรูดหนังแล้วทำความสะอาดให้ดี จะไม่มีปัญหาในการติดเชื้อแบคทีเรียของหนังหุ้มปลาย ซึ่งพ่อแม่ควรสอนลูกควรสอนให้ลูกรู้จักรูดเปิดหนังหุ้มปลายทุกครั้งตอนอาบน้ำ เพื่อล้างสารที่สะสมออกไป
  4. ลูกเจ็บตัวโดยไม่จำเป็น ซึ่งเป็นข้อเสียที่เห็นได้ชัดเจนของการขลิบ มีงานวิจัยพบว่า แม้แต่ทารกก็รู้สึกเจ็บและเครียดได้เช่นกัน แต่ไม่แน่ใจว่าจะส่งผลถึงตอนโตหรือไม่อย่างไร

การดูแลหลังขลิบ ล้างให้สะอาดด้วยน้ำทุกครั้งหลังมีการถ่ายอุจจาระปัสสาวะ แล้วซับให้แห้ง โดยทั่วไปแผลจะแห้งดีภายใน 1 สัปดาห์

การดูแลหากไม่ขลิบ พ่อแม่ควรปลูกฝังลูกตั้งแต่เด็ก เช่น ตอนอาบน้ำควรสอนให้ลูกรู้จักรูดเปิดหนังหุ้มปลายทุกครั้งเพื่อล้างสารที่สะสมออกไป พยายามรูดลงมาทีละนิดๆ ทำบ่อยๆ เป็นประจำ ก็จะทำให้รูเปิดของหนังหุ้มปลายค่อยๆ กว้างขึ้น จนทำให้สามารถรูดพ้นบริเวณหัวของอวัยวะเพศได้ และไม่ควรใช้แป้งหรือสารใด ๆ ทาอวัยวะเพศส่วนปลายที่อยู่ข้างในหนังหุ้ม เพราะอาจเกิดการหมักหมมจนติดเชื้อได้

อ่านเพิมเติมได้ที่ จุ๊ดจู๋ลูกชาย ขลิบดี ไม่ขลิบดี

หากคุณพ่อคุณแม่ท่านใดมีประสบการณ์หรือความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ สามารถแสดงความเห็นได้เลยค่ะ

 

ที่มา : newagepregnancy.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

วิธีทำความสะอาดอวัยวะเพศชาย (จุ๊ดจู๋ลูกชาย)

อันตราย!!!ทาแป้งฝุ่นให้น้องหนู (จิ๊มิ)เสี่ยงเป็นมะเร็งรังไข่

บทความจากพันธมิตร
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ทารกเสียชีวิต หลังถูกแพทย์ขลิบหนังหุ้มปลาย
แชร์ :
  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

powered by
  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว