X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การเสริมพลังของสารอาหารหลายชนิดเพื่อการพัฒนาสมอง และร่างกาย

บทความ 3 นาที
การเสริมพลังของสารอาหารหลายชนิดเพื่อการพัฒนาสมอง และร่างกาย

การสร้างศักยภาพให้ลูกรักเป็นสิ่งที่คุณแม่ทุกคนให้ความสำคัญ โดยเฉพาะเรื่อง ศักยภาพของสมอง ที่มีความสำคัญมากในช่วง 3 ขวบปีแรก คุณแม่จึงควรให้ความใส่ใจในเรื่องโภชนาการ เพื่อให้มั่นใจว่าลูกได้รับสารอาหารที่สำคัญต่อการพัฒนาของสมองที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น แอลฟา-แล็คตัลบูมิน, ดีเอชเอ, โคลีน, ลูทีน, ธาตุเหล็ก, ไอโอดีน และโฟเลต เป็นต้น ซึ่งเป็นสารอาหารที่พบได้ในนมแม่

การเสริมพลังของสารอาหารหลายชนิดเพื่อการพัฒนาสมอง และร่างกาย

มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ชี้ว่าดีเอชเอ โคลีนและลูทีนมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสมองของเด็ก นอกจากนี้มีการศึกษาเชิงสังเกตุหาความสัมพันธ์ระหว่างสารอาหารกับการพัฒนาสมองโดยการวิเคราะห์สารอาหารในนมแม่หลังคลอด ที่อายุ 3-4 เดือน แล้วทำการวัดความจำของทารกที่ได้รับนมแม่นี้อย่างเดียวเมื่ออายุ 6 เดือน พบว่าเด็กที่ได้รับนมแม่ที่มีสารอาหารดีเอชเอ โคลีน ลูทีนที่ทำงานร่วมกัน จะมีความจำที่สูงกว่า1

 

บทบาทของสารอาหารในการเจริญเติบโตและพัฒนาสมอง

  • แอลฟาแล็คตัลบูมิน

โปรตีนคุณภาพสูง พบในน้ำนมแม่ ย่อยง่าย และให้กรดอะมิโนจำเป็นเช่น ทริปโตเฟน, ไลซีน เป็นต้น

ทริปโตเฟนเป็นสารตั้งต้นในการสร้างสารสื่อประสาทชื่อ เซโรโทนิน ซึ่งช่วยในการควบคุมการนอนหลับและกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาสติปัญญา2

  • ดีเอชเอ

ดีเอชเอเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวพบในสมองและมีช่วยในการทำงานของระบบประสาท การได้รับดีเอชเอส่งผลดีต่อร่างกาย พฤติกรรม รวมถึงกระบวนการเรียนรู้3

  • โคลีน

โคลีนมีความสำคัญต่อโครงสร้าง การทำงานของเซลล์เมมเบรนและการสร้างสารสื่อประสาท4 ช่วยในการพัฒนาสมองและการความจำ5

  • ลูทีน

เป็นแคโรทีนอยด์ที่พบในนมแม่  พบในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ ช่วยปกป้องดวงตาจากแสงสีฟ้าที่ทำลายจอประสาทตา และทำหน้าที่ต่อต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ซึ่งสำหรับเด็กโดยเฉพาะทารกแล้วการเรียนรู้ผ่านการมองเห็นมีส่วนช่วยส่งเสริมพัฒนาการของสมองและการเรียนรู้6

สารอาหารอี่นๆที่สำคัญต่อการเรียนรู้และการพัฒนาสมองของเด็กเช่น ธาตุเหล็ก ไอโอดีน และโฟเลต เป็นต้น

 

มีการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานร่วมกันของสารอาหารที่พบในนมแม่ ในเด็กอายุ 3 เดือนว่าช่วยพัฒนาสมองในเรื่องของความจำ1

  • กราฟด้านซ้าย

ผลวิจัยสรุปว่า ทารกอายุ 6 เดือน ที่ได้รับนมแม่ที่มีปริมาณของดีเอชเอ และโคลีนที่สูงจะมีความจำที่ดีกว่าทารก ที่ได้รับปริมาณดีเอชเอและโคลีนปริมาณปานกลางและต่ำ

  • กราฟด้านขวา

ผลวิจัยสรุปพบว่า ทารกอายุ 6 เดือน ที่ได้รับนมแม่ที่มีปริมาณของโคลีน และลูทีน ที่สูงกว่าจะมีความจำที่ดีกว่าทารก ที่ได้รับปริมาณโคลีนและลูทีนปริมาณที่น้อยกว่า

การเสริมพลังของสารอาหารหลายชนิดเพื่อการพัฒนาสมอง และร่างกาย

 

โดยสรุปจะเห็นได้ว่า การเสริมพลังของสารอาหาร ดีเอชเอ โคลีน ลูทีน ที่พบในนมแม่มีผลต่อความจำและการเรียนรู้ของเด็ก ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่ควรมอบสารอาหารที่หลากหลายให้กับลูกเพื่อพัฒนาการที่สมวัย

 

References

  1. Cheatham CL, Sheppard KW. Synergistic Effects of Human Milk Nutrients in the Support of Infant Recognition Memory: An Observational Study. Nutrients. 2015; 7(11): 9079–95.
  2. Richard DM, Dawes MA, Mathias CW, etc. L-Tryptophan: Basic Metabolic Functions, Behavioral

Research and Therapeutic Indications. International Journal of Tryptophan Research 2009: 2; 45-60

  1. Weiser MJ, Butt CM, and Mohajeri MH. Docosahexaenoic Acid and Cognition throughout the Lifespan. Nutrients 2016: 8 (99); 1-40
  2. Zeisel SH. The Fetal Origins of Memory: The Role of Dietary Choline in Optimal Brain Delopment. J Pediatr. 2006; 149(5 Suppl): S131–S136.
  3. Zeisel SH. Choline: needed for normal development of memory. J Am Coll Nutr 2000: 19 (5 Suppl); 528s-531s.
  4. Alves-Rodrigues A, Shao A. The science behind lutein. Toxicology Letters.2004: 150 (1); 57-83.

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • การเสริมพลังของสารอาหารหลายชนิดเพื่อการพัฒนาสมอง และร่างกาย
แชร์ :
  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง?  ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

    ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง? ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง?  ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

    ลูกติดแม่มาก จนไม่เป็นอันทำอะไร รับมือยังไง? ให้ลูกมั่นใจ ติดแม่น้อยลง

  • EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

    EQ ต่ำ ไม่ใช่เรื่องไกลตัว: 3 พฤติกรรมเล็ก ๆ บนโต๊ะอาหารที่พ่อแม่ควรรู้ทัน

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว