X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกขี้กลัว กลัวคนแปลกหน้า กลัวไปหมดทุกอย่าง พ่อแม่ต้องทำยังไง?

บทความ 3 นาที
ลูกขี้กลัว กลัวคนแปลกหน้า กลัวไปหมดทุกอย่าง พ่อแม่ต้องทำยังไง?

ลูกขี้กลัว พ่อแม่ต้องทำยังไง?

ลูกขี้กลัว กลัวไปหมดซะทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นกลัวสัตว์ กลัวความมืด หรือแม้กระทั่งกลัวหมอ ความกลัวเหล่านี้บางครั้งไม่ใชช่เกิดขขึ้นกับเด็กเท่านั้น ยางคนก็หายเมื่อโตขึ้น แต่กับเด็กอีกกลุ่มหนึ่ง ความกลัวนั้นมันฝั่งลึกลงไปในใจ อะไรที่ทำให้ลูกกลัวขนาดนี้ และพ่อแม่ต้องทำอย่างไร เพื่อให้ลูกไม่เป็นเด็กขี้กลัว TheAsianparent มีคำตอบค่ะ

ทำไมลูกถึงเป็นเด็กขี้กลัว

  1. เป็นเด็กที่มีพื้นสมองทางด้านอารมณ์มากตั้งแต่เกิด ทำให้หนูน้อยมีอารมณ์หวั่นไหวได้ง่าย
  2. มีพ่อหรือแม่ คนใดคนหนึ่ง เป็นคนขี้กลัว ทำให้ลูกติดนิสัยนี้โดยไม่รู้ตัว
  3. เลี้ยงลูกแบบประคบประหงมเกินเหตุ ห้ามทำนู้นทำนี่ ไม่กล้าที่จะทำอะไรใหม่ๆจนทำให้เขากลายเป็นคนขี้กลัว ไม่กล้า หรือถึงขั้นเป็นโรควิตกกังวลได้เลยทีเดียว
  4. เด็กเคยมีประสบการณ์ไม่ดีในชีวิต เช่น พ่อแม่แยกทาง เคยได้รับอุบัติเหตุ หรือมีการเจ็บป่วยรุนแรง ทำให้ต้องนอนโรงพยาบาลเป็นเวลานานๆ
ลูกขี้กลัว

ลูกขี้กลัว

ความกลัวของเด็กในแจ่ละช่วงอายุ

1. เด็กอายุ 6-7 เดือน

เด็กวัยนี้ จะกลัวคนแปลกหน้า คนที่ไม่คุ้นเคย และคนที่ไม่ค่อยได้พบเจอกันบ่อยๆ ส่วนมากเด็กๆ มักจะแสดงออกมาเวลาที่คุณพ่อคุณแม่พาไปเยี่ยมญาติ หรือเพื่อนๆ มาเที่ยวหาที่บ้าน

หากลูกร้องเมื่อเจอคนที่เขาไม่คุ้นเคย สิ่งที่พ่อแม่ควรทำคือ อย่าพยายามให้คนเหล่านั้นอุ้มลูก เพราะเด็กวัยนี้มีความกลัวคนแปลกหน้าเป็นปกตินั่นเอง ดังนั้น ควรแนะนำให้ญาติๆ จับมือเล่นกับลูกน้อย หรือจะยิ้มทักทายก็เพียงพอแล้ว

2. เด็กอายุ 2-3 ขวบ

เด็กวัยนี้ความกลัวจะมีมากขึ้น บางคนกลัวความมืด กลัวผี สัตว์ประหลาดตามหนังหรือนิทาน กลัวเสียงลม ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า การฝันร้าย กลัวการที่ต้องอยู่กับคนแปลกหน้า กลัวการอยู่คนเดียว กลัวคุณหมอทุกครั้งที่ไปฉีดยา หรือหาหมอฟัน และแม้ตัวการ์ตูนมาสคอตน่ารักๆ ก็ตาม เนื่องจากหนูๆ วัยนี้ เริ่มมีจินตนาการของตัวเองขึ้นมาแล้ว

สิ่งที่ทำให้เด็กกลัวมากขึ้น

  1. ใช้ความกลัวมาขู่ลูก เช่น ถ้าลูกเป็นคนกลัวหมา เวลาที่ลูกดื้อไม่เชื่อฟังแม่ก็จะดุลูกว่า “ถ้าดื้อ แม่จะให้หมากัดน่ะ” หรือบอกว่า “ถ้าไม่กินข้าว แม่จะให้หมอจับฉีดยา”
  2.  เวลาพาลูกไปเที่ยวสวนสัตว์ แล้วลูกกลัวสัตว์ชนิดหนึ่ง พอลูกกลัว และเริ่มร้องไห้ก็บอกว่า “จะกลัวทำไม ดูน้องเขาสิ ไม่เห็นจะกลัวเลย”
  3. เวลาไปเที่ยวสวนสนุก หรือสนามเด็กเล่น เด็กบางคนกลัวความสูง พ่อแม่ก็ยังจะให้ลูกปีนขึ้นไปเพื่อที่จะเล่นเครื่องเล่นสไลด์เดอร์สูงๆ
ลูกเป็นเด็กขี้กลัว

ลูกเป็นเด็กขี้กลัว

วิธีการหยุดความกลัวของเด็ก

  1. พ่อแม่ต้องเข้าใจความกลัวของลูกน้อย ดูว่าลูกกลัวอะไร และอย่าดุด่าว่าเรื่องแค่นี้ทำไมถึงกลัว หรือบอกว่าไม่เห็นจะน่ากลัวตรงไหน แล้วพยายามผลักไสลูกไปเผชิญความกลัวเพียงลำพัง
  2. เมื่อรู้ว่าลูกกลัว ให้กอดลูกหรืออุ้ม แล้วก้าวเดินไปข้างหน้าให้เข้าใกล้ความกลัวอย่างช้าๆ ถ้าลูกยังกลัวไม่กล้า ก็ไม่ควรบังคับ
  3. อธิบายให้ลูกเข้าใจถึงสิงที่เกิดขึ้น ห้ามพูกโกหกหรือพูเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ เพราะมันจะกลายเป็นการแก้ไขเฉพาะหน้าเฉยๆ พอคราวหน้าเจอพ่อแม่ก็จะโกหกไปอีก
  4. เวลาพาลูกไปหาหมอ เช่น ไปฉีดยา หรือหาหมอฟัน ควรบอกความจริงลูกไป บอกว่าไปฉีดยามันเจ็บยังไง อย่าบอกลูกว่ามันไม่เจ็บ แล้วพูดให้ความมั่นใจว่าลูกจะต้องผ่านความกลัวนี้ได้อย่างแน่นอน
  5. พ่อแม่ควรหาหนังสือนิทานที่เกี่ยวกับการเผชิญกับความกลัวให้ลูกได้อ่าน แล้วอธิบายให้ลูกเข้าใจถึงวิธีการต่อสู้กับความกลัวในใจ
  6. หากลูกต้องเผชิญกับความกลัว ลองให้เขาแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยที่ไม่ต้องบังคับลูก

เมื่อพ่อแม่ เรียนรู้และเข้าใจว่าลูกของเรามีความกลัวแบบไหน แนะนำว่าอย่าใช้ความกลัวขู่ลูกเวลาที่ลูกดื้อรั้น แต่ควรค่อย ๆ ให้ลูกได้เรียนรู้การเผชิญกับความกลัวอย่างช้า ๆ โดยที่เราไม่ต้องบังคับ และต้องพูดความจริง อย่าพยายามปกปิดเพื่อให้ลูกสบายใจ เพราะเมื่อลูกต้องเจอกับความกลัวอีกครั้ง เขาจะจำฝังใจและอาจจะกลัวหนักไปกว่าเดิมอีกค่ะ

 

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

วิธีกระตุ้นพัฒนาการของลูกน้อย แค่ 180 นาทีต่อวัน ใครๆ ก็ทำได้!

เลือดล้างหน้ากับประจำเดือน ต่างกันอย่างไร เลือดล้างหน้ามาช่วงไหน หมายความว่าอะไร

ลูกชาย ชาคริต แย้มนาม-แม่แอน คลอดแล้วจ้า หล่อขนาดไหน ส่องรูปกันเลย!

ที่มา: 1, 2

บทความจากพันธมิตร
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • การเลี้ยงลูก
  • /
  • ลูกขี้กลัว กลัวคนแปลกหน้า กลัวไปหมดทุกอย่าง พ่อแม่ต้องทำยังไง?
แชร์ :
  • ลูกขี้กลัว ทำอย่างไรดี? วิธีช่วยลูกจัดการ และก้าวข้ามความกลัว

    ลูกขี้กลัว ทำอย่างไรดี? วิธีช่วยลูกจัดการ และก้าวข้ามความกลัว

  • ขู่ลูกมากระวังลูกเป็นเด็กขี้กลัว ระวังให้ดีการขู่ลูกอาจจะทำให้ลูกเก็บตัว

    ขู่ลูกมากระวังลูกเป็นเด็กขี้กลัว ระวังให้ดีการขู่ลูกอาจจะทำให้ลูกเก็บตัว

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ลูกขี้กลัว ทำอย่างไรดี? วิธีช่วยลูกจัดการ และก้าวข้ามความกลัว

    ลูกขี้กลัว ทำอย่างไรดี? วิธีช่วยลูกจัดการ และก้าวข้ามความกลัว

  • ขู่ลูกมากระวังลูกเป็นเด็กขี้กลัว ระวังให้ดีการขู่ลูกอาจจะทำให้ลูกเก็บตัว

    ขู่ลูกมากระวังลูกเป็นเด็กขี้กลัว ระวังให้ดีการขู่ลูกอาจจะทำให้ลูกเก็บตัว

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ