X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

พฤติกรรมผิดๆ ที่พ่อแม่ใช้เลี้ยงลูกวัย 2 ขวบ

บทความ 3 นาที
พฤติกรรมผิดๆ ที่พ่อแม่ใช้เลี้ยงลูกวัย 2 ขวบพฤติกรรมผิดๆ ที่พ่อแม่ใช้เลี้ยงลูกวัย 2 ขวบ

ลูกวัยเตาะแตะมีพลังงานล้นเหลือ พร้อมด้วยความกระตือรือร้นที่จะทดสอบขีดจำกัดของตัวเองว่าเขาสามารถทำอะไรได้แค่ไหน ซึ่งถือเป็นความท้าทายของพ่อแม่อย่างมากในการที่จะรับมือและลี้ยงลูกวัย 2-3 ขวบอย่างเหมาะสม มาดูกันว่าอะไรที่พ่อแม่มักทำผิดพลาด และควรแก้ไขอย่างไร

  1. ไม่คงเส้นคงวา

เมื่อรู้ว่าพ่อแม่คาดหวังอะไร ลูกวัยเตาะแตะจะพยายามทำดีที่สุด ไม่ว่าจะตอนอาบน้ำ ตอนเข้านอน หรือเมื่อเขารู้ว่าหากเขาไม่ทำแล้วจะเป็นอย่างไร ยิ่งพ่อแม่มีความคงเส้นคงวามากเท่าไหร่ ลูกก็มีแนวโน้มที่จะปฏิบัติตามกฎได้มากขึ้น

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ : ทำทุกอย่างให้เป็นกิจวัตร ด้วยความสม่ำเสมอคงเส้นคงวาเท่าที่สุดเท่าที่จะทำได้ หากคุณไม่มั่นใจว่าจะทำอย่างไรเมื่อลูกเทอาหารลงบนพื้นหรือ ไม่ยอมเข้านอน  คุณพ่อและคุณแม่ต้องตกลงกันให้ได้ว่าจะใช้วิธีไหนในการรับมือกับลูก และยึดวิธีการนั้นตลอด ไม่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา

  1. ให้เวลากับครอบครัวมากเกินไป

เวลาที่ครอบครัวใหญ่อยู่ด้วยกันพร้อมหน้านั้นเป็นช่วงเวลาแห่งความสุข แต่พ่อแม่บางคนก็ให้เวลากับครอบครัวมากเกินไป

โทมัส ฟีแลน นักจิตวิทยาคลินิก ผู้เขียนหนังสือ 1-2-3 Magic กล่าวว่า “เด็กหวงแหนเวลาที่อยู่ตามลำพังกับพ่อแม่คนใดคนหนึ่ง เพราะการได้อยู่กับพ่อแม่ตามลำพัง เป็นช่วงเวลาที่ไม่ต้องมีพี่น้องมาแบ่งความรักจากพ่อแม่ไปจากเขา”

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ : ไม่ยากเลยที่คุณจะใช้เวลาตามลำพักกับลูกวัย 2 ขวบ แค่นั่งลงบนพื้นแล้วเล่นด้วยกัน อ่านหนังสือด้วยกันก่อนเข้านอน หรือเล่านิทานให้ลูกฟัง

  1. ช่วยเหลือลูกมากเกินไป

พ่อแม่บางคนกระโดดเข้าไปช่วยลูกวัยเตาะแตะเวลาที่เขามีปัญหาในการทำบางสิ่งบางอย่าง การที่คุณทำอย่างนั้น รู้ไหมมันคือการส่งสัญญาณบอกว่า ลูกไม่สามารถที่จะทำสิ่งเหล่านั้นได้ด้วยตัวคนเดียว

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ : ควรสอนให้ลูกอดทนต่อความยากลำบาก แม้จะไม่ได้เข้าไปช่วยเหลือ แต่ก็ยังสามารถชื่นชม และให้กำลังใจลูกได้ โดยบอกลูกว่า ลูกทำได้แน่นอนจ้ะ!”

ให้เวลากับครอบครัวมาเกินไป

  1. พูดมากเกินไป

การพูดกับลูกบ่อยๆ เป็นความคิดที่ดี แต่ไม่ใช่การพูดซ้ำๆ เพื่อพยายามควบคุมพฤติกรรมเมื่อลูกทำผิด

ลองนึกภาพแม่ที่เพิ่งบอกว่า “ไม่” เมื่อลูกวัย 2 ขวบขอกินขนม แต่ลูกงอแง โวยวาย แม่พยายามอธิบาย แต่ลูกก็ยังหยิบขนมไปกิน  แม่ดึงขนมกลับไปและพยายามอธิบายเหตุผลให้ลูกที่เต็มไปด้วยน้ำตาฟัง โต้กันไปมาอย่างนี้ไม่มีใครยอมใคร

ฟีแลนกล่าวว่า “ลูกวัยเตาะแตะไม่ใช่ผู้ใหญ่ในร่างเด็ก เขายังไม่รู้จักเหตุผล และยังไม่สามารถซึมซับสิ่งที่คุณพยายามบอกเขาได้”

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ: เมื่อคุณบอกให้ลูกทำบางสิ่งบางอย่าง แต่ลูกไม่เชื่อฟัง ให้เตือนด้วยคำพูดสั้นๆ หรือนับ 1-3 หากลูกยังไม่ทำตาม ให้ใช้วิธี Time-out หรืออื่นที่เห็นผลทันที ไม่ต้องพยายามอธิบายให้ยืดยาว

  1. ฝึกนั่งกระโถนเร็วเกินไป

พ่อแม่บางคนพยายามหว่านล้อมลูกขับถ่ายในห้องน้ำเมื่อคิดว่าถึงเวลา และตำหนิลูกอย่างรุนแรงเมื่อลูกไม่ทำตาม

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ: เด็กเรียนรู้ที่จะใช้ห้องน้ำได้เมื่อเขาพร้อม พ่อแม่ไม่ควรเร่งรัดลูก แต่ควรแบ่งกระบวนการออกเป็นขั้นๆ พาลูกไปดูห้องน้ำ อธิบายวิธีการใช้ ให้ลูกช่วยกดชักโครก และชมเชยเมื่อเขาทำสำเร็จ

  1. ให้ลูกอยู่กับหน้าจอนานเกินไป

เด็กที่ดูทีวีเยอะจะมีปัญหาการเรียนรู้ในภายหลัง และการศึกษาชี้ให้เห็นว่าเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 2 ปีไม่สามารถไตร่ตรองสิ่งที่แสดงบนหน้าจอทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ได้

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ: ทำให้ลูกยุ่งอยู่กับการอ่านและแสวงหาความรู้ที่สร้างสรรค์อื่นๆ พูดคุยและกระตุ้นให้เกิดการพูดคุยเช่นเดียวกับการฟัง ยิ่งคุณพาลูกออกจากหน้าจอได้นานเท่าไหร่ก็ยิ่งดี

ให้ลูกอยู่หน้าจอนานเกินไป

  1. พยายามที่จะหยุดเมื่อลูกอาละวาด

พ่อแม่บางคนกังวลว่า การที่ไม่สามารถควบคุมลูกได้ ทำให้เขาเป็นพ่อแม่ที่ไม่มีประสิทธิภาพ แต่ในความจริงแล้ว เด็กวัยเตาะแตะทุกคนก็อาละวาดทั้งนั้น เมื่อลูกอาละวาด ไม่มีประโยชน์ที่จะทำให้ลูกหยุด เว้นเสียแต่ว่าเขาจะอาละวาดในที่สาธารณะ

เมื่ออยู่ในที่สาธารณะและพยายามจัดการกับลูก พ่อแม่มักรู้สึกเหมือนกำลังถูกตัดสินจากสายตาของผู้คนที่มองมา เหมือนมีไฟส่องมาที่หัว และบอกว่าคุณเป็นพ่อแม่ที่ไร้ความสามารถ

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำ: พ่อแม่ต้องรู้ว่า ลูกสำคัญกว่า สายตาและความคิดเห็นของคนอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคนแปลกหน้า

การเลี้ยงลูกวัย 2 ขวบนั้นพ่อแม่ต้องเข้าใจพัฒนาการของเด็กในวัยเตาะแตะเสียก่อนจึงจะรับมือกับลูกได้อย่างเหมาะสม และไม่ทำพฤติกรรมผิดๆ เหล่านี้ที่อาจเป็นการทำร้ายลูกโดยไม่รู้ตัว

ที่มา www.webmd.com

 

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

พัฒนาการลูกวัย 2 ขวบ เด็กวัยเตาะแตะต้องเรียนรู้อะไรบ้าง

อาหาร 6 ชนิดที่อุดมไปด้วยธาตุเหล็กสำหรับเด็กวัยเตาะแตะ

9 สิ่งควรทำ ถ้าไม่อยากให้ลูกเป็นเด็กขี้โรค

 

 

บทความจากพันธมิตร
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!
เผยเคล็ดลับการเรียนออนไลน์ที่จะทำให้ลูกตั้งใจเรียนมากขึ้น!

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิริลักษณ์ อุทยารัตน์

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • พฤติกรรมผิดๆ ที่พ่อแม่ใช้เลี้ยงลูกวัย 2 ขวบ
แชร์ :
  • เลี้ยงลูกวัย 4 ขวบอย่างไร ให้ถูกวิธี และเสริมพัฒนาการลูกน้อย

    เลี้ยงลูกวัย 4 ขวบอย่างไร ให้ถูกวิธี และเสริมพัฒนาการลูกน้อย

  • เลี้ยงลูกวัยอนุบาลให้รักน้อง สอนลูกวัยอนุบาลให้รักน้องต้องทำอย่างไร

    เลี้ยงลูกวัยอนุบาลให้รักน้อง สอนลูกวัยอนุบาลให้รักน้องต้องทำอย่างไร

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • เลี้ยงลูกวัย 4 ขวบอย่างไร ให้ถูกวิธี และเสริมพัฒนาการลูกน้อย

    เลี้ยงลูกวัย 4 ขวบอย่างไร ให้ถูกวิธี และเสริมพัฒนาการลูกน้อย

  • เลี้ยงลูกวัยอนุบาลให้รักน้อง สอนลูกวัยอนุบาลให้รักน้องต้องทำอย่างไร

    เลี้ยงลูกวัยอนุบาลให้รักน้อง สอนลูกวัยอนุบาลให้รักน้องต้องทำอย่างไร

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ