X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วันครบกำหนดคลอด คำนวณอย่างไร วิธีคำนวณวันคลอดด้วยตัวเอง

บทความ 3 นาที
วันครบกำหนดคลอด คำนวณอย่างไร วิธีคำนวณวันคลอดด้วยตัวเอง

วันครบกำหนดคลอด คือ การคำนวณจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งล่าสุด รวมไปถึงการอัลตราซาวนด์ ซึ่งจะเท่ากับอายุครรภ์ 40 สัปดาห์พอดี คุณแม่มักจะเจ็บท้องคลอด และคลอดใกล้ ๆ กับวันที่กำหนดคลอด ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับที่กำหนดไว้ อาจจะเป็นช่วงก่อนหรือหลังที่คุณหมอกำหนดไว้ก็ได้ และ 80 เปอร์เซ็นของแม่ท้อง มักจะคลอดลูกในช่วงที่มีอายุครรภ์ระหว่าง 37 – 40 สัปดาห์

 

แม่ท้อง วันครบกำหนดคลอด

 

วันครบกำหนดคลอด คำนวณอย่างไร

วิธีการคำนวณวันคลอดด้วยตัวเอง โดยการนับจากวันแรก ที่ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย

วันที่ = วันแรกที่ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย + 7

เดือน = เดือนที่ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย – 3

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้ายของคุณมาวันที่ 1 มกราคม

วันที่  = 1 + 7 = 8

เดือน = 1 – 3 = 10 (เดือนมกราคมแล้วนับถอยหลังไป 3 เดือน)

วันกำหนดคลอดของคุณจะประมาณวันที่ 8 ตุลาคม

หรือคุณแม่สามารถคำนวณวันคลอดง่าย ๆ จากวันที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้ายได้ที่ เครื่องคำนวณวันคลอด 

 

เรื่องจริงที่แม่ท้องควรรู้ เกี่ยวกับวันครบกำหนดคลอด

1. กำหนดคลอดนั้น ไม่ได้แม่นยำเสมอไป ในความเป็นจริงแล้วจะมีคุณแม่เพียง 5 – 6 เปอร์เซ็นเท่านั้น ที่จะคลอดลูกได้ตรงกับกำหนดวันคลอดพอดี  และอีก 40 เปอร์เซ็น มักจะคลอดลูกเกินกำหนด ซึ่งร้อยละ 25 ของคุณแม่ในกลุ่มนี้จะคลอดลูกเมื่ออายุครรภ์ 42 สัปดาห์ ร้อยละ 12 จะคลอดลูกเมื่ออายุครรภ์ 43 สัปดาห์ และที่เหลือเพียงร้อยละ 3 จะคลอดลูกเมื่ออายุ 44 สัปดาห์

2. หากเลยวันครบกำหนดคลอดลูกไปแล้ว ห้ามคุณแม่เสี่ยงที่จะรอให้เจ็บท้องคลอดลูกเองเด็ดขาด เพราะนั่นหมายถึง คุณแม่เสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพของรกและการลดลงของระดับน้ำคร่ำ ซึ่งส่งผลกระทบดังต่อไปนี้

 

หากเลยวันครบกำหนด คลอดลูกไปแล้ว ห้ามคุณแม่เสี่ยงที่จะรอ ให้เจ็บท้องคลอดลูกเอง

 

  • ทารกเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในครรภ์
  • ทารกอยู่ในภาวะความเสี่ยงต่อการสำลักขี้เทา ทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ และอาจทำให้เกิดอาการปอดอักเสบรุนแรงได้
  • ทารกที่อยู่ในครรภ์เกินกว่ากำหนด จะมีตัวใหญ่กว่าปกติ ทำให้คลอดยาก
  • ทำให้รกเสื่อม ทารกเกิดภาวะการขาดออกซิเจนเรื้อรัง ซึ่งจะส่งผลร้ายต่ออวัยวะและสมองของเด็กทารกในครรภ์ น้ำคร่ำจะน้อยลง ทำให้ทารกอยู่ในภาวะเครียด หัวใจเต้นผิดปกติ และอาจเสียชีวิตได้

3. ทารกอาจคลอดก่อนถึงวันครบกำหนดคลอด จากสถิติพบว่า แม่ท้องประมาณ 11 เปอร์เซ็น มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด ช่วงมีอายุครรภ์ได้ประมาณ 37 สัปดาห์ และถ้าหากท้องแรกเคยคลอดก่อนกำหนดมาแล้ว อนาคตก็มีโอกาสคลอดก่อนกำหนดได้เช่นเดียวกัน

แต่ถ้าไม่แน่ใจวันครบกำหนดคลอดจริง ๆ ก็ไม่ต้องกังวล เพราะถ้าคุณรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว สิ่งแรกที่ต้องทำคือไปฝากครรภ์ ซึ่งถ้าหากคุณแจ้งข้อมูลวันแรกที่ประจำเดือนครั้งสุดท้ายมา คุณหมอก็จะช่วยคำนวณให้อยู่แล้วค่ะ

 

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

22 สิ่ง ที่ควรทำ ในเดือนสุดท้าย เช็คลิสต์ก่อนคลอด มีอะไรบ้าง ที่ไม่ควรพลาด

5 สารอาหาร ที่คนท้อง ควรได้รับก่อนคลอด สำคัญอย่างไร และมีสารอาหาร อะไรบ้าง

ท้องลดก่อนคลอด อาการท้องลด เป็นอย่างไร ท้องลดตอนกี่สัปดาห์ ท้องลดคือใกล้คลอด จริงไหม

บทความจากพันธมิตร
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
10 ข้อห้ามหลังผ่าคลอด แม่ผ่าคลอดไม่ควรทำอะไร กิจกรรมแบบไหน อาจสร้างรอยแผลเป็นขนาดใหญ่ไว้ตลอดกาล
10 ข้อห้ามหลังผ่าคลอด แม่ผ่าคลอดไม่ควรทำอะไร กิจกรรมแบบไหน อาจสร้างรอยแผลเป็นขนาดใหญ่ไว้ตลอดกาล
เพราะ “สมองของเด็กผ่าคลอด” สำคัญเท่ากับ “ภูมิต้านทาน” เรื่องต้องรู้ ที่ แม่เตรียมผ่าคลอด อาจไม่เคยรู้!!
เพราะ “สมองของเด็กผ่าคลอด” สำคัญเท่ากับ “ภูมิต้านทาน” เรื่องต้องรู้ ที่ แม่เตรียมผ่าคลอด อาจไม่เคยรู้!!
เช็กด่วน 7 สัญญาณใกล้คลอด พร้อมเคล็ดลับดูแลร่างกายหลังคลอด แข็งแรงไว เบาใจเรื่องแผลเป็นจากการผ่าคลอด
เช็กด่วน 7 สัญญาณใกล้คลอด พร้อมเคล็ดลับดูแลร่างกายหลังคลอด แข็งแรงไว เบาใจเรื่องแผลเป็นจากการผ่าคลอด

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • การคลอด
  • /
  • วันครบกำหนดคลอด คำนวณอย่างไร วิธีคำนวณวันคลอดด้วยตัวเอง
แชร์ :
  • น้ำคร่ำน้อย อาการน้ำคร่ำรั่ว เป็นอย่างไร เรื่องจริงที่แม่ท้องควรรู้

    น้ำคร่ำน้อย อาการน้ำคร่ำรั่ว เป็นอย่างไร เรื่องจริงที่แม่ท้องควรรู้

  • เรื่องจริงที่แม่ท้องใกล้คลอดต้องเจอ โค้งสุดท้ายแล้วคนท้องต้องเจออะไรบ้าง?

    เรื่องจริงที่แม่ท้องใกล้คลอดต้องเจอ โค้งสุดท้ายแล้วคนท้องต้องเจออะไรบ้าง?

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • น้ำคร่ำน้อย อาการน้ำคร่ำรั่ว เป็นอย่างไร เรื่องจริงที่แม่ท้องควรรู้

    น้ำคร่ำน้อย อาการน้ำคร่ำรั่ว เป็นอย่างไร เรื่องจริงที่แม่ท้องควรรู้

  • เรื่องจริงที่แม่ท้องใกล้คลอดต้องเจอ โค้งสุดท้ายแล้วคนท้องต้องเจออะไรบ้าง?

    เรื่องจริงที่แม่ท้องใกล้คลอดต้องเจอ โค้งสุดท้ายแล้วคนท้องต้องเจออะไรบ้าง?

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว