X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สิ่งที่ไม่ควรบอกลูก

บทความ 3 นาที
สิ่งที่ไม่ควรบอกลูก

สิ่งต่อไปนี้เป็นการอธิบายคร่าว ๆ เกี่ยวกับบทสนทนาที่ควรพูดคุยเฉพาะในหมู่ผู้ใหญ่ด้วยกัน สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เด็ก 1) ไม่เข้าใจ 2) ไม่เกี่ยวข้อง 3) ไม่เกิดประโยชน์กับเด็กหากได้รับรู้ และคือสิ่งที่ไม่ควรบอกลูก

สิ่งที่ไม่ควรบอกลูก

สิ่งที่ไม่ควรบอกลูก

สิ่งต่อไปนี้เป็นการอธิบายคร่าว ๆ เกี่ยวกับบทสนทนาที่ควรพูดคุยเฉพาะในหมู่ผู้ใหญ่ด้วยกัน

การก่อการร้ายและหายนะต่าง ๆ

ผู้ใหญ่ไม่ควรพูดคุยเกี่ยวกับการก่อการร้ายหรือความรุนแรงที่เกิดขึ้นให้เด็กเล็ก ๆ รับรู้ (เด็กที่อายุต่ำกว่า 10 ขวบ) ลองถามตัวคุณดูว่าลูกคุณจะทำอะไรได้ในสถานการณ์เช่นนั้น? การที่เขารู้ว่าเกิดอะไรขึ้นจะทำให้อะไรดีขึ้นหรือไม่? ไม่เลย! การที่เขาต้องรับรู้สิ่งเหล่านี้ยิ่งจะทำให้เขากลัวและอาจก่อให้เกิดความวิตกกังวลขึ้น
เด็กอายุมากกว่า 10 ขวบอาจจะได้ยินจากข่าวหรือจากสิ่งที่คนอื่นพูดคุยเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น ๆ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ คุณควรเป็นคนบอกหรืออธิบายให้เขาฟังและตอบคำถามที่เขาอาจมีด้วยตัวคุณเอง

ปัญหาด้านการเงินของครอบครัว

Advertisement

การตกงาน ปัญหาการจำนองที่ดิน ปัญหาหนี้สินบัตรเครดิต คุณไม่ควรพูดคุยเรื่องเหล่านี้ต่อหน้าลูกเนื่องจากพวกเขาไม่ได้เป็นคนก่อปัญหาขึ้นมา นอกจากนี้ การที่ต้องได้ยินเรื่องพวกนี้จะทำให้พวกเขารู้สึกไม่มั่นคงและเกิดความกลัว ในจิตใจของเด็กจะคิดถึงสถานการณ์ที่แย่ที่สุด ซึ่งจะทำให้เกิดความวิตกกังวล ไม่มีสมาธิ และจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวหรือรู้สึกถดถอยอย่างแรง

หากต้องมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ คุณควรตัดสินใจว่าคุณจะเลือกทางเลือกใดก่อนที่จะบอกให้ลูกทราบ จากนั้น แจ้งให้ลูกทราบในเชิงบวกให้มากเท่าที่จะทำได้ และให้ความมั่นใจแก่ลูกว่าแม้อาจมีการเปลี่ยนแปลง แต่การอยู่ด้วยกันเป็นครอบครัวและให้ความรักแก่กันจะยังคงอยู่เหมือนเดิม หากคุณมีลูกที่เป็นวัยรุ่น คุณอาจขอความช่วยเหลือจากลูก เช่น ให้ลูกทำงานวันเสาร์-อาทิตย์ หรือลดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ค่าโทรศัพท์ลง

ลูกบุกห้องนอนคุณ

หากลูกคุณเกิดบุกห้องนอนโดยที่คุณไม่ทันตั้งตัวและไม่ใช่เวลาที่เหมาะสม คุณไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลอื่นนอกจากบอกว่า “พ่อกำลังจั๊กกะจี้แม่อยู่” หรือ “พ่อกับแม่กำลังเล่นเกมผู้ใหญ่อยู่”

สำหรับเด็กที่โตแล้วและเหมือนจะรู้ว่าคุณกำลังทำอะไรอยู่ คุณอาจหาข้อแก้ตัวง่าย ๆ หรือบอกเขาว่าไว้ค่อยคุยกันทีหลัง นั่นก็เพียงพอแล้ว

ฟุตบอล (หรืออะไรก็ตาม) ที่ไม่ใช่สิ่งที่คุณชอบหรือถนัด

ปกติแล้ว เด็กจะมีความรู้สึกกดดันในเรื่องความเป็นเลิศด้านกีฬาจากสังคมรอบตัว เพื่อนรุ่นเดียวกัน หรือแม้กระทั่งจากคุณเองพอสมควร แต่เราควรยอมรับความจริงที่ว่า ไม่ใช่เด็กทุกคนจะเกิดมาเป็นนักกีฬา ลูกคุณบางคนอาจเล่นกีฬาเก่ง แต่เด็กจำนวนมากเล่นไม่เก่งเท่าเด็กคนอื่น ดังนั้น ในฐานะที่เป็นพ่อหรือแม่ คุณไม่ต้องการให้ลูกรู้สึกอายในสนามกีฬา คุณไม่ต้องการให้ใครซุบซิบนินทาว่าลูกของคุณยิงบอลไม่เข้าประตูหรือยิงเข้าประตูตัวเอง

หากลูกคุณไม่เก่งในการทำกิจกรรมนั้น ๆ เลย คุณควรดูว่าเขารู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เขากำลังทำอยู่ หากเขาไม่ชอบ ควรเลิกทำกิจกรรมนั้นและพาเขาทำกิจกรรมอื่นแทน

หากลูกคุณไม่มีความสุขและดูเหมือนจะไม่มีความสามารถในด้านนั้น ๆ คุณอาจปล่อยให้เขาทำไปและหวังว่าเขาจะเหนื่อยกับกิจกรรมนั้นไปเอง หรืออาจพัฒนาทักษะของเขาขึ้น หรือคุณอาจช่วยเขาฝึกทักษะโดยร่วมทำกิจกรรมกับเขาด้วยตัวคุณเอง ขอร้องให้เด็กวัยรุ่นคนอื่น สมาชิกในครอบครัว หรือเพื่อน ๆ ของเขาช่วย

คุณควรให้ลูกรู้ว่าลูกได้คะแนนความพยายามเต็มที่ แต่ต้องพัฒนาทักษะและฝีมือมากขึ้น การทำให้ลูกรู้สึกถึงความล้มเหลวเป็นเรื่องที่ผิดมหันต์เช่นเดียวกับการบอกเขาว่าเขาไม่มีหวังในกิจกรรมนั้น ๆ “น้องต้นฝึกหนักมากวันนี้ พ่อกับแม่ภูมิใจในตัวลูกมาก แต่เวลาลูกอยู่นอกสนามแข่ง ลูกต้องดูว่าเกมเป็นยังไงและต้องพร้อมที่จะเล่น สมาชิกที่ดีของทีม ต้องไม่เพียงแค่นั่งดูอยู่ข้างสนามและเขี่ยดินเล่นเฉย ๆ”

จำไว้ว่าคุณกำลังคุยอยู่กับใคร

เด็กจะพูดอะไรง่าย ๆ และตรงตามความหมายในสิ่งที่เขาพูด นั่นแสดงให้เห็นว่าคุณพูดกับเขาให้ตรงตามความหมาย เข้าใจง่าย และไร้เดียงสาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • สิ่งที่ไม่ควรบอกลูก
แชร์ :
  • สอนลูกให้สู้คน เผชิญหน้าอย่างมั่นใจโดยไม่ใช้ความรุนแรง

    สอนลูกให้สู้คน เผชิญหน้าอย่างมั่นใจโดยไม่ใช้ความรุนแรง

  • ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

    ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

  • อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

    อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

  • สอนลูกให้สู้คน เผชิญหน้าอย่างมั่นใจโดยไม่ใช้ความรุนแรง

    สอนลูกให้สู้คน เผชิญหน้าอย่างมั่นใจโดยไม่ใช้ความรุนแรง

  • ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

    ชีวิตที่มีลูก เข้าแล้วออกไม่ได้ : บริหารเวลายังไง ให้ชีวิตแม่มีความสุข

  • อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

    อาถรรพ์ 7 ปี ทำไมคู่รักมักเลิกกัน: อาถรรพ์ ความเชื่อ หรือแค่การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว