X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ต้องรู้! วายร้ายวัย 2 ขวบหรือ Terrible twos คืออะไร

บทความ 3 นาที
ต้องรู้! วายร้ายวัย 2 ขวบหรือ Terrible twos คืออะไร

บ้านไหนที่มีลูกสาวลูกชายอยู่ในวัย 2-3 ขวบ หรือกำลังก้าวเข้าสู่วัยนี้กันบ้างคะ ได้ลองสังเกตเห็นพฤติกรรมของลูกกันบ้างหรือเปล่า จากหนูน้อยที่เคยว่านอนสอนง่ายในตอนนี้เริ่มกลายเป็นเด็กดื้อ เจ้าอารมณ์ ที่ทำให้คุณพ่อคุณแม่เริ่มปวดสมองเพิ่มขึ้นอีก หรือที่เรียกว่าภาวะ “terrible twos” อยากรู้ว่ามีพฤติกรรมเป็นอย่างไร ต้องอ่าน..

terrible twos คืออะไร

 

สังเกตพฤติกรรมวายร้ายวัยสองขวบ

Terrible twos หรือความเป็นตัวป่วน ออกฤทธิ์อย่างวายร้ายของลูกน้อยในช่วง 2 ขวบ เป็นภาวะการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของเด็กที่ขึ้นๆ ลงๆ อย่างรวดเร็วมาก ที่มักจะเริ่มเกิดขึ้นในช่วงอายุตั้งแต่ 2-3 ขวบ ลองมาดูว่าลูกน้อยมีพฤติกรรมอย่างไรบ้าง

  • เด็กในช่วงวัยนี้เริ่มมีความคิดเพิ่มมากขึ้น รู้จักตัวเองมากขึ้น เริ่มเป็นตัวของตัวเอง
  • ต้องการความเป็นอิสระและรู้สึกไม่พอใจที่ใครมาบังคับ มีลักษณะดื้อ
  • มีการต่อต้าน ใช้คำพูดปฏิเสธและมีปฏิกิริยาขัดขืนเมื่อถูกออกคำสั่ง
  • มีการเรียกร้อง และหวังผลต่อการตอบสนอง
  • เริ่มแสดงอาการเอาแต่ใจตัวเอง ร้องกรี๊ด จนถึงบางครั้งอาจจะควบคุมอารมณ์ตัวเองไม่อยู่จนถึงขั้นทำร้ายตัวเอง เช่น การกัดมือ หรือทุบตีพ่อแม่
  • มีการใช้ร่างกายเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วเพิ่มขึ้น สามารถหยิบจับ ขว้าง ปา สิ่งของได้เมื่อเกิดอารมณ์โกรธ ไม่พอใจ
  • เริ่มรู้จักหวงของ แย่งของ เพราะคิดว่าทุกสิ่งเป็นของตัวเอง ไม่รู้จักแบ่งปันให้เพื่อนหรือผู้อื่น

ภาวะ Terrible twos ขึ้นอยู่กับพื้นฐานทางอารมณ์ของเด็กแต่ละคน ซึ่งอาจจะแตกต่างกัน แต่พฤติกรรมที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ถือเป็นธรรมชาติของเด็ก ที่เริ่มเป็นตัวของตัวเอง และพยายามที่จะลองผิดลองถูกเพื่อทดสอบความสามารถของตัวเอง และจะลดลงเมื่อลูกโตขึ้น มีสมาธิมากขึ้น เริ่มรู้จักว่าสิ่งไหนควรไม่ควร คุณพ่อคุณแม่ควรเข้าใจในพัฒนาการของลูกที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ และช่วยกันปรับพฤติกรรมของลูกด้วยการแนะนำ พูดคุยด้วยความใจเย็น ใช้คำสั่งให้น้อยที่สุด แล้วลองให้ลูกเลือกสิ่งที่อยากทำด้วยตัวเองในขอบเขตที่เหมาะสม

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
ผลวิจัยล่าสุด MFGM  สุดยอดสารอาหาร เพื่อ IQ /EQ ที่เหนือกว่าของลูกน้อยในวัย 5 ขวบ
ผลวิจัยล่าสุด MFGM สุดยอดสารอาหาร เพื่อ IQ /EQ ที่เหนือกว่าของลูกน้อยในวัย 5 ขวบ
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ต้องรู้! วายร้ายวัย 2 ขวบหรือ Terrible twos คืออะไร
แชร์ :
  • แม่ปวดหัวหนัก ลูก 3 ขวบ งอแง ลูก 2 ขวบ ก้าวร้าว เอาแต่ใจ ปราบยังไงดีให้อยู่หมัด!

    แม่ปวดหัวหนัก ลูก 3 ขวบ งอแง ลูก 2 ขวบ ก้าวร้าว เอาแต่ใจ ปราบยังไงดีให้อยู่หมัด!

  • วัยทอง 2 ขวบ ลูกงอแงไร้เหตุผล พัฒนาการที่แม่ต้องรู้

    วัยทอง 2 ขวบ ลูกงอแงไร้เหตุผล พัฒนาการที่แม่ต้องรู้

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • แม่ปวดหัวหนัก ลูก 3 ขวบ งอแง ลูก 2 ขวบ ก้าวร้าว เอาแต่ใจ ปราบยังไงดีให้อยู่หมัด!

    แม่ปวดหัวหนัก ลูก 3 ขวบ งอแง ลูก 2 ขวบ ก้าวร้าว เอาแต่ใจ ปราบยังไงดีให้อยู่หมัด!

  • วัยทอง 2 ขวบ ลูกงอแงไร้เหตุผล พัฒนาการที่แม่ต้องรู้

    วัยทอง 2 ขวบ ลูกงอแงไร้เหตุผล พัฒนาการที่แม่ต้องรู้

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว