X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กินยาคุมนานๆ ข้อเสียของการกินยาคุม ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิด ที่สาวๆ ต้องรู้

บทความ 3 นาที
กินยาคุมนานๆ ข้อเสียของการกินยาคุม ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิด ที่สาวๆ ต้องรู้

มีคนจำนวนไม่มากนักที่รู้ถึงผลข้างเคียงของยาเม็ดคุมกำเนิด ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิดมีผลอย่างไรต่อร่างกายเรา กินยาคุมจะทำให้มีลูกยากหรือไม่หากกินต่อเนื่องนาน ลองอ่านดูนะคะ

ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิด ที่สาวๆ ต้องรู้ ยาเม็ดคุมกำเนิด เป็นยาที่มีส่วนผสมของฮอร์โมนเพศหญิง ซึ่งจะมีผลป้องกันการตั้งครรภ์โดยยับยั้งการตกไข่ ทำให้เยื่อบุโพรงมดลูก (เยื่อบุมดลูก) บางตัวมีสภาพไม่พร้อมต่อการฝังตัวของตัวอ่อน และทำให้มูกที่ปากมดลูกเหนียวข้น เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ จึงทำให้ไม่สามารถเข้าไปปฏิสนธิกับไข่ในท่อนำไข่ได้

 

ยาเม็ดคุมกำเนิด แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

  • ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม (Combined pill) ประกอบด้วยตัวยาทั้งฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสติน
  • ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดที่มีโปรเจสตินอย่างเดียว (Minipill)
  • ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน (Postcoital pill)

ยาเม็ดคุมกำเนิดนั้น เหมาะในผู้ที่ต้องการคุมกำเนิดชั่วคราว ระยะเวลาไม่กี่ปี (น้อยกว่า 5 ปี) มีการวางแผนต้องการบุตรเพิ่มอีกในอนาคต ซึ่งในปัจจุบันยาเม็ดคุมกำเนิดมีหลายชนิด ชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดและมีประสิทธิ ภาพในการคุมกำเนิดดีคือยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม ส่วนยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนโปรเจสตินอย่างเดียว ควรใช้ในสตรีที่ให้นมบุตรและสตรีที่มีข้อห้ามในการใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจน อย่างไรก็ตามควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้

สำหรับยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน ควรใช้เฉพาะเวลาฉุกเฉิน เนื่องจากมีผลข้างเคียงมาก และอัตราการล้มเหลว (การตั้งครรภ์) สูง

ผลตกค้าง,ยาเม็ดคุมกำเนิด

ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิด

ผลข้างเคียงของยาเม็ดคุมกำเนิด

นอกเหนือไปจากป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการแล้ว  ยาเม็ดคุมกำเนิดยังมีผลข้างเคียงมากมาย หากใช้ยาในเวลานาน

  • ยาเม็ดคุมกำเนิดทำให้เลือดข้น และจับตัวเป็นก้อนทำให้เสี่ยงต่อการเกิดเส้นเลือดอุดตันในปอด  เส้นโลหิตอุดตันและโรคหัวใจ  ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 35 ปี และสูบบุหรี่เป็นผู้ที่มีความเสี่ยงสูง
  • ผลข้างเคียงอีกอันหนึ่งของยาเม็ดคุมกำเนิดคือ   น้ำหนักขึ้น จากการที่ฮอร์โมนปรวนแปร  ยาเม็ดคุมกำเนิดสามารถทำให้ร่างกายของคุณกักเก็บน้ำไว้หรือเพิ่มไขมันในเนื้อเยื่อของคุณ
  • ฝ้า คือสิ่งธรรมดาสำหรับผู้หญิงที่ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด  ผิวของคุณจะคล้ำลง โดยเฉพาะบริเวณเหนือริมฝีปากบน
  • ผู้หญิงที่ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดอาจมีประสบการณ์ของความรู้สึกทางเพศต่ำ    จากการศึกษาที่ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยอินเดียน่า  แสดงให้เห็นว่าผู้หญิงที่ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดเป็นประจำยากที่จะกลับมามีอารมณ์ทางเพศตามปกติ  ยาเม็ดคุมกำเนิดประกอบไปด้วยฮอร์โมนแอสโตรเจนซึ่งนำไปสู่ความบกพร่องของฮอร์โมนเทสโตโรน ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการกระตุ้นเร้าทางเพศ
  • หัวข้อของมะเร็งและยาเม็ดคุมกำเนิดยังอยู่ภายใต้การโต้แย้ง  การศึกษาเกี่ยวกับยาเม็ดคุมกำเนิดบางหัวข้ออ้างว่ายาเม็ดคุมกำเนิดช่วยลดการเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งของรังไข่  แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงมีข้อเชื่อมโยงระหว่างยาเม็ดคุมกำเนิด  เต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วยเช่นกัน  ผู้หญิงที่ติดเชื้อ HPV (หูด) คือผู้ที่มีความเสี่ยงสูง  ในการที่จะพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูก  ในช่วงขณะที่ยังใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด
  • ยาเม็ดคุมกำเนิดมีผลกระทบในอนาคต  เมื่อต้องการตั้งครรภ์  นี่คือเรื่องจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้หญิงที่ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดมาเป็นเวลานาน    จากการศึกษาพบว่าการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดอย่างต่อเนื่อง  อาจทำให้สูญเสียเยื่อบุโพรงมดลูกอย่างถาวร   มีผู้หญิงมากมายที่หยุดใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด  รายงานว่ามีความผิดปกติของรอบเดือนหรือรอบเดือนขาดหายไป  นี่คือสิ่งปกติที่เกิดขึ้น  สืบเนื่องมาจากภาวะที่รังไข่ไม่ปล่อยไข่สุกในแต่ละเดือน  ซึ่งเป็นหนึ่งในผลข้างเคียงของยาเม็ดคุมกำเนิด

การศึกษาเกี่ยวกับผลข้างเคียงของยาเม็ดคุมกำเนิดยังคงดำเนินต่อไป  แต่ถ้าคุณวางแผนที่จะใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดต่อไป  ขอให้คุณแน่ใจว่าได้พิจารณาผลข้างเคียงที่เป็นไปได้ของยาเม็ดคุมกำเนิดกับแพทย์ของคุณแล้ว

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

กินยาคุมนานๆ

กินยาคุมตอนท้อง จะอันตรายต่อลูกในท้องไหม

ทำไมกินยาคุมฉุกเฉินแล้วยังท้อง ไขข้อสงสัยยาคุมฉุกเฉินที่คนมักเข้าใจผิด

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • กินยาคุมนานๆ ข้อเสียของการกินยาคุม ผลตกค้างของยาเม็ดคุมกำเนิด ที่สาวๆ ต้องรู้
แชร์ :
  • วิตามิน D คนท้อง ขาดวิตามินดีอันตรายหรือไม่? ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร

    วิตามิน D คนท้อง ขาดวิตามินดีอันตรายหรือไม่? ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร

  • ทำ IF ระหว่างตั้งครรภ์ ได้ไหม? ส่งผลอย่างไรต่อลูกน้อย?

    ทำ IF ระหว่างตั้งครรภ์ ได้ไหม? ส่งผลอย่างไรต่อลูกน้อย?

  • ไขข้อสงสัย! วิตามินบี 7 คนท้อง กินมากไปจะส่งผลอันตรายอย่างไรบ้าง?

    ไขข้อสงสัย! วิตามินบี 7 คนท้อง กินมากไปจะส่งผลอันตรายอย่างไรบ้าง?

  • วิตามิน D คนท้อง ขาดวิตามินดีอันตรายหรือไม่? ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร

    วิตามิน D คนท้อง ขาดวิตามินดีอันตรายหรือไม่? ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร

  • ทำ IF ระหว่างตั้งครรภ์ ได้ไหม? ส่งผลอย่างไรต่อลูกน้อย?

    ทำ IF ระหว่างตั้งครรภ์ ได้ไหม? ส่งผลอย่างไรต่อลูกน้อย?

  • ไขข้อสงสัย! วิตามินบี 7 คนท้อง กินมากไปจะส่งผลอันตรายอย่างไรบ้าง?

    ไขข้อสงสัย! วิตามินบี 7 คนท้อง กินมากไปจะส่งผลอันตรายอย่างไรบ้าง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ