X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เชื่อหรือไม่! ทำงานขณะเลี้ยงลูกมีผลต่อพัฒนาการสมองเด็ก

บทความ 3 นาที
เชื่อหรือไม่! ทำงานขณะเลี้ยงลูกมีผลต่อพัฒนาการสมองเด็ก

การศึกษาวิจัยล่าสุดชี้ การทำงานขณะเลี้ยงลูก ส่งผลต่อการพัฒนาสมองของทารก พร้อมคำแนะนำในการสร้างความสมดุลให้กับชีวิตการทำงาน

การเป็นคุณแม่ที่ต้องทำงานหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน ถือเป็นเรื่องที่ดี แต่นักวิจัย Irvine จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ค้นพบว่า การทำงานไปด้วยและต้องเลี้ยงลูกไปด้วยนั้น อาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสมองของลูกได้ รู้แบบนี้ต้องรีบเก็บโทรศัพท์เข้ากระเป๋าด่วน ๆ !

ผลการศึกษาครั้งนี้ถูกตีพิมพ์ใน Translational Psychiatry ที่จัดทำโดย Dr Tallie Z. Baram และทีม จากสถาบัน UCI’s Conte Center แผนกกระบวนการทางสมองในวัยรุ่น

ผลการศึกษาชี้ว่า...

การศึกษาใช้กระบวนการสังเกตการณ์ในการเลี้ยงและดูแลลูก ซึ่งพบว่ากิจกรรมเบา ๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายใด ๆ เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือ การตอบข้อความไปมา สามารถส่งผลระยะยาว และส่งผลกระทบกับสมองของเด็กทารกแรกเกิดได้ ซึ่งมีหัวข้อสำคัญของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่

1.การทำงานขณะเลี้ยงลูกสามารถกีดกั้นการพัฒนาทางสมองที่เหมาะสม

2.การพัฒนาที่ดีของสมองในเด็กทารกนั้น มาจากการดูแลเอาใจใส่อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน

3.การไม่ต่อเนื่องของการเลี้ยงดูทารก อาจส่งผลถึงความผิดปกติทางอารมณ์ของทารกได้หลายรูปแบบ เช่น เด็กมีความเสี่ยงต่อการติดยาเสพติด เด็กเกิดความเครียดได้โดยง่ายเมื่อโตขึ้น เป็นต้น

นักวิจัย Irvine นี้ อ้างว่า การศึกษาครั้งนี้อ้างอิงมาจากผลของการศึกษาที่เกี่ยวกับเรื่องการดูแลเอาใจใส่ทารกและการพัฒนาของทารกควบคู่กันไปด้วย ความจริงแล้วการศึกษาครั้งนี้ไม่ได้เน้นไปที่ การดูแลเอาใจใส่ลูกเป็นสิ่งที่สร้างความมั่นคงทางอารมณ์ให้กับทารก แต่เน้นไปที่ คุณแม่ควรหลีกเลี่ยงการดูแลเอาใจใส่ลูกแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น ทำงานไปด้วยขณะที่เลี้ยงลูก เป็นต้น

ผลกระทบพ่อแม่ติดเล่นมือถือ

 

อ่านคำแนะนำในการสร้างความสมดุลให้กับชีวิตการทำงาน หน้าต่อไปค่ะ

หลีกเลี่ยงการดูแลเอาใจใส่ลูกแบบไม่ต่อเนื่องได้อย่างไร?

หากคุณพ่อหรือคุณแม่มีภาระหน้าที่ต้องทำงานหลาย ๆ ชิ้น พร้อม ๆ กับต้องดูแลลูก เรามีคำแนะนำวิธีการจัดการกับเรื่องดังกล่าว ดังต่อไปนี้ค่ะ

1.อยู่กับความจริง

คุณไม่จำเป็นต้องสละทุกสิ่งทุกอย่าง เพื่อมาดูแลลูกน้อย คุณยังคงสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ที่คุณชื่นชอบได้ หากคุณสามารถจัดการกับเวลา เช่น การอ่านหนังสือ การดูทีวี ไปฟิตเนส ทำขนม หรือ ทำงานเขียนต่าง ๆ คุณเพียงแค่จัดหาเวลาที่เหมาะสมในการทำกิจกรรมเหล่านี้แค่นั้นเอง

2.ไม่ต้องพยายามเป็นซูเปอร์มัม

เรารู้ดีว่าคุณคือสุดยอดซูเปอร์มัม เพียงแต่คุณไม่จำเป็นต้องกดดันตัวเอง เพื่อแสดงออกให้ใครเห็น การพยายามทำทุกอย่างให้ออกมาให้สมบูรณ์แบบ อาจไม่ใช่วามคิดที่ดีนัก คุณสามารถเลือกไม่รับสายจากออฟฟิต แล้วค่อยโทรกลับภายหลัง หากคุณกำลังดูแลลูก หากคุณมัวแต่คิดถึงเรื่องงานเป็นหลัก คุณอาจจะพบความล้มเหลวในการดูแลลูกในฐานะพ่อแม่คนหนึ่ง

3.เลิกรู้สึกผิดหรือโทษตัวเอง

การโทษตัวเองตลอดเวลามักเป็นความรู้สึกของคนเป็นแม่ โดยเฉพาะคุณแม่ที่ต้องทำงานไปด้วย คุณมักจะย้ำคิดย้ำทำว่า คุณคิดถูกหรือผิดที่คุณกลับมาทำงานประจำ หรือที่คุณลาออกจากงานมาเลี้ยงลูก ไม่สำคัญว่าคุณจะอยู่ในสถานการณ์ใด หากคุณยังสามารถรักและดูแลเอาใจใส่ลูกได้เป็นอย่างดี คุณก็คือสุดยอดคุณแม่แล้วเช่นกัน

4.แม่ก็คือแม่ คุณไม่ใช่เพื่อนของลูก ๆ 

บางครั้งคุณอยากจะตีเส้นในการดำเนินชีวิตของลูก ถึงแม้เรารู้ดีว่าทุกคนมีสิทธิที่จะเลือกทำในสิ่งที่ต้องการ แต่กับลูก ๆ แล้วคุณสามารถขีดเส้นให้ได้เลย ตามที่คุณเห็นเหมาะสม และสิ่งนี้จะส่งผลดีกับลูก ๆ ในระยะยาว ตัวอย่างเช่น การไม่อนุญาตไปนอนบ้านเพื่อน หากคุณเห็นว่าไม่เหมาะสม คุณสามารถตัดสินใจให้ลูก ๆ เองได้เลย นี่เป็นเพราะคุณนึกถึงความปลอดภัยของลูก ๆ นั่นเอง

5.สอนลูกให้มีความมั่นใจในตัวเอง

การมีความเชื่อมั่นในตัวเอง เป็นคุณสมบัติที่ดีเยี่ยม คุณสามารถสอนให้ลูก ๆ มีนิสัยข้อนี้ได้ตั้งแต่เด็ก ๆ ในอนาคตเมื่อเขาเติบโตขึ้น เขาจะเป็นคนที่มีคุณภาพ มีความมั่นใจ กล้าคิดกล้าทำ และกล้าแสดงออก พวกเขาจะเรียนรู้ในการจัดการชีวิตของตัวเองได้ดีเมื่อโตขึ้น

 

ที่มาจาก www.theindusparent.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

การวิจัยพบ พ่อแม่ติดเล่นมือถือ กีดกั้นการพัฒนาสมองของลูก

43 ไอเดีย กิจกรรมสําหรับลูกวัย 3 ขวบ เล่นกันง่าย ๆ ทั้งพ่อ แม่ ลูก

บทความจากพันธมิตร
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • เชื่อหรือไม่! ทำงานขณะเลี้ยงลูกมีผลต่อพัฒนาการสมองเด็ก
แชร์ :
  • เชื่อหรือไม่!! คุณแม่ ท้องตอนอายุ 30 ปี ส่งผลให้ "ลูกฉลาดแข็งแรง" ที่สุด

    เชื่อหรือไม่!! คุณแม่ ท้องตอนอายุ 30 ปี ส่งผลให้ "ลูกฉลาดแข็งแรง" ที่สุด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • เชื่อหรือไม่!! คุณแม่ ท้องตอนอายุ 30 ปี ส่งผลให้ "ลูกฉลาดแข็งแรง" ที่สุด

    เชื่อหรือไม่!! คุณแม่ ท้องตอนอายุ 30 ปี ส่งผลให้ "ลูกฉลาดแข็งแรง" ที่สุด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ