X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ภาษาของเด็กทารก ภาษาที่ใช้สื่อสารกับพ่อแม่ ลูกของคุณเป็นแบบไหน?

บทความ 3 นาที
ภาษาของเด็กทารก ภาษาที่ใช้สื่อสารกับพ่อแม่ ลูกของคุณเป็นแบบไหน?

คุณอาจจะเคยสงสัยว่าภาษาที่ฟังไม่ได้ศัพท์ของทารกนั้นแปลว่าอะไร บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจภาษาอ้อแอ้ของทารกมากขึ้น

 

ภาษาของเด็กทารก

 

เราเคยได้ยินเกี่ยวกับการที่เด็กทารกใช้ภาษาของตัวเองสื่อสารกับพ่อแม่และเด็กอื่น ๆ ภาษานี้อาจจะฟังดูไม่ได้ศัพท์สำหรับผู้ใหญ่ แต่เด็กเล็ก ๆ ต่างมีภาษาเป็นของตัวเอง ซึ่งเราอาจต้องพยายามเรียนรู้กันสักหน่อย เรามีคำแนะนำที่จะช่วยให้คุณเข้าใจภาษาอ้อแอ้ของเด็กน้อยมากขึ้นและทำไมเด็ก ๆ จึงสื่อสารเช่นนั้น?

 

ภาษาของเด็กทารก เข้าใจภาษาทารก

การสื่อสารของทารกแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะแรกคือการเริ่มส่งเสียงเพื่อเรียกร้องความสนใจ ระยะที่สองคือการส่งเสียงพยางค์เดิมซ้ำ  ๆ เมื่อทารกอายุได้ประมาณ 6-9 เดือน เช่น “มามามามามามามา! มามา! มามามามา!” และระยะสุดท้ายคือการพูดเสียงหลาย ๆ แบบ ซึ่งเมื่อฟังผ่าน ๆ อาจฟังดูคล้ายคำที่มีความหมายจริง ๆ ในช่วงที่เด็กเริ่มฝึกกล้ามเนื้อและพยายามเลียนแบบเสียงที่เขาได้ยิน

เด็กสองภาษา ลูกเข้าใจสิ่งที่พูดหรือไม่

 

ภาษาอ้อแอ้  

เพื่อทำความเข้าใจภาษาอ้อแอ้ของเด็กทารก ก่อนอื่นคุณต้องตั้งใจฟังโทนเสียงและคำที่เด็กใช้ เพราะโทนเสียงและ “คำ” เป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้คุณสามารถระบุเจตนาและอารมณ์ของเด็ก

นี่เป็นข่าวดีสำหรับครอบครัวที่ใช้หลายภาษา เพราะแต่ละภาษาก็มีโทนเสียงที่แตกต่างกันออกไป เด็ก ๆ ก็เหมือนฟองน้ำที่พร้อมจะซึมซับทุกอย่างที่พวกเขาได้ยินและมองเห็น เด็กทารกในจีนที่พ่อแม่พูดภาษาฝรั่งเศสก็จะสื่อสารไม่เหมือนกับเด็กในฝรั่งเศสที่ผู้ปกครองพูดภาษาฝรั่งเศสและโปรตุเกส

เปิดหน้า 2 มีคลิปวีดีโอฮา ๆ ที่พิสูจน์ว่าทารกเค้ามีภาษาของเค้าเอง

“ภาษาอ้อแอ้” ในที่นี้ไม่ได้จำกัดอยู่แค่เด็กที่ได้ยินเป็นปกติเท่านั้น เด็กทารกที่หูหนวกที่ “ฟัง” จากภาษามือ ก็สามารถสื่อสารภาษาอ้อแอ้ผ่านการเคลื่อนไหวเช่นกัน

เคล็ดลับการอ่านหนังสือให้ลูกวัยหัดพูด

ภาษาของเด็กทารก

 

ลูกของคุณเป็นแบบไหน?

คุณอาจสังเกตว่าลูกคนโตของคุณสื่อสารไม่เหมือนกับลูกคนสุดท้องของคุณเลยสักนิด เพราะเด็กแต่ละคนก็มีวิธีการสื่อสารที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหลัก ๆ แบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภท คือ เด็กที่ใช้คำ และเด็กที่ใช้น้ำเสียง

เด็กที่ใช้คำพูดอาจพยายามออกเสียงคำต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในขณะที่เด็กที่ใช้น้ำเสียงอาจพยายามเล่นกับเสียงสูงต่ำของคำมากกว่า และจะเปลี่ยนไปพูดคำอื่นต่อเมื่อพอใจกับเสียงของคำที่หัดพูดก่อนหน้าเท่านั้น เด็กประเภทหลังนี้มักใช้เวลากับการออกเสียงพยางค์เดิมซ้ำ ๆ แต่โดยปกติเด็กทั้งสองประเภทจะมีพัฒนาการด้านภาษาไม่ต่างกัน

ภาษาของเด็กทารกถือเป็นการสื่อสารรูปแบบหนึ่ง หากเราสังเกตปฏิกิริยาของผู้ปกครองต่อเสียงของทารกอย่างละเอียด เราจะพบว่าเด็กสามารถทำให้ผู้ปกครองเข้าใจพวกเขาได้ก่อนที่เขาจะเข้าใจผู้ปกครองเสียอีก

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา

แอพช่วยสอนภาษาอังกฤษลูกน้อย

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ภาษาของเด็กทารก ภาษาที่ใช้สื่อสารกับพ่อแม่ ลูกของคุณเป็นแบบไหน?
แชร์ :
  • พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

    พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

  • การเรียนรู้และการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ของเด็กวัยหัดเดินมีความสำคัญอย่างไร

    การเรียนรู้และการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ของเด็กวัยหัดเดินมีความสำคัญอย่างไร

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

    พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

  • การเรียนรู้และการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ของเด็กวัยหัดเดินมีความสำคัญอย่างไร

    การเรียนรู้และการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ของเด็กวัยหัดเดินมีความสำคัญอย่างไร

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว