X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ป้องกันการฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้นที่ครอบครัว

บทความ 5 นาที
ป้องกันการฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้นที่ครอบครัว

เมื่อไรที่เด็กพยายามฆ่าตัวตาย นั่นเป็นสัญญาณบอกว่า ความเครียดนั้น มากมาย เกินกว่าจะรับมือได้ การพยายามฆ่าตัวตาย เป็นการส่งสัญญาณว่า “หนูไม่ไหวแล้ว”

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้นที่ครอบครัว<!--first-para-->

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้นที่ครอบครัว

“ดาราสาว กินยาเกินขนาด หลังทะเลาะกับแฟนหนุ่ม” หรือ “เด็ก อายุ 13 น้อยใจแม่ กินยาฆ่าตัวตาย” ข่าวทำนองนี้ คุณผู้อ่านคงได้ยินมา เป็นระยะ ทุกครั้ง ที่ได้ยินข่าว ความคิด ที่เกิดตามมาล้วนต่างๆ นานา บางคน อาจสงสาร เห็นใจ บางคนอาจ มองว่า เรื่องแค่นี้ไม่เห็นจะต้องคิดสั้น ฆ่าตัวตาย แต่ไม่ว่า สาเหตุ ของ การพยายามฆ่าตัวตาย จะเป็น เหตุเล็ก หรือ ใหญ่ ใน ความคิดของเรา ก็ตาม เมื่อไรที่เด็กพยายามฆ่าตัวตาย นั่นเป็น สัญญาณ บอกว่า ความเครียดนั้น มากมาย เกินกว่าจะรับมือได้ การพยายามฆ่าตัวตาย เป็น การส่งสัญญาณว่า “หนูไม่ไหวแล้ว”

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ ครอบครัว

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ ครอบครัว

จาก การศึกษา ที่ผ่านมาพบว่า เด็ก ที่มีแนวโน้ม จะปรับตัวได้ยาก ต่อ ความเครียด จน นำไปสู่ การฆ่าตัวตาย มัก เป็น เด็กผู้หญิง มากกว่า ผู้ชาย เนื่องจาก เมื่อเกิดภาวะเครียด ผู้ชาย มีช่องทาง การระบายความเครียด มากกว่า ผู้หญิง ไม่เก็บ ความเครียด ไว้ กับ ตนเอง รวมทั้ง พบได้ ในเด็กวัยรุ่น ที่มีผลจากฮอร์โมนเพศ ที่สูงมากขึ้น ทำให้ มีความ หุนหันพลันแล่น ขาด ความยับยั้งชั่งใจ เมื่อ จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และ เชื่อว่าเป็นผลจากลักษณะบุคลิกลักษณะเดิม เช่น คนที่พูดไม่เก่ง คนเก็บความรู้สึกตนเองไม่ค่อยแสดงออกด้านอารมณ์ หรือ เป็นเด็กที่มีลักษณะ นิสัยหุนหันพลันแล่นอยู่เดิม มักทำอะไร โดยไม่ค่อยคิดไตร่ตรอง เป็นต้น

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ครอบครัว

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ครอบครัว

เมื่อถึง จุดที่เด็ก รู้สึกว่า จัดการ กับ ความเครียด ตัวเองไม่ได้ เด็กย่อม ต้องการ ความช่วยเหลือ ซึ่งแน่นอนที่สุด ครอบครัว ย่อมเป็น แหล่งประคับประคองที่สำคัญ ก่อนอื่น ครอบครัวต้องสังเกตว่า เด็กมีความเครียด หรือ ซึมเศร้า มากน้อยเพียงใด โดยสังเกต จากพฤติกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ซึมลง แยกตัว นอนไม่หลับ หรือ นอนมากกว่าปกติ อ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีกำลัง กินอาหารมาก หรือ น้อยกว่าปกติ พูดบ่น ถึง ความตาย หรือ การไม่อยากมีชีวิตอยู่บ่อยๆ

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ครอบครัว

ป้องกัน การฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้น ที่ครอบครัว

หาก เด็กมีอาการ ดังกล่าว ต้องให้ความสำคัญ ไม่ควรตัดบท หรือ พูดว่าไม่เป็นไร อย่าพูดอย่างนั้นเลย หรือ พูดแนวป้องกันว่า หนูไม่ทำอย่างนั้นหรอก หากสังเกต ว่า เด็กมีความเครียดหรือซึมเศร้า ครอบครัว ควรให้การดูแลเด็กมาก ขึ้น สังเกตพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ควร แสดงความเห็นอกเห็นใจ ให้เด็กรับรู้ได้ว่า มีคนเข้าใจ หาก เด็กต้องการคำปรึกษาหรือระบายความในใจ ต้องเปิดโอกาสให้ได้พูดระบายความในใจ ฟังเด็กอย่างตั้งใจ คอยให้กำลังใจ ปลอบประโลม ทำให้เด็กรู้สึกได้ว่า มีที่พึ่ง ไม่ได้เผชิญกับความเครียดตามลำพัง

สิ่งที่ดีที่สุดในการป้องกันการฆ่าตัวตายในเด็กคือ สัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัว สัมพันธภาพที่ดี จะเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ ช่วยป้องกันไม่ให้เด็กตัดสินใจคิดสั้น เมื่อเด็กรับรู้ว่าตนเองเป็นที่รักของคนในครอบครัว ยังมีคุณค่ามากต่อครอบครัว เมื่อถึงจุดที่เด็กจะตัดสินใจคิดสั้นนั้น มักคิดถึงครอบครัวได้ก่อนว่าพ่อแม่หรือสมาชิกคนอื่นๆในครอบครัวจะเป็นอย่างไร หากตนเองตายไป จึงพบว่า สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว เป็นปัจจัยที่ช่วยป้องกันการฆ่าตัวตายของเด็กได้เป็นอย่างดี

บทความที่น่าสนใจอื่นๆ

พ่อแม่ควรรู้ “เซลฟี่ ติดเน็ต สังคมออนไลน์” ภัยร้ายใกล้ตัว สู่ปัญหาการ “ฆ่าตัวตาย” ของเด็ก

สลด! เด็กสาวเซลฟี่ก่อนแขวนคอลาโลก

บทความจากพันธมิตร
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

เด็ก ป.5 ขอลาตาย! แล้วจากนี้ต้องสอนอย่างไร?

https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1134

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

พญ.โสรยา ชัชวาลานนท์

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • ป้องกันการฆ่าตัวตายในเด็ก เริ่มต้นที่ครอบครัว
แชร์ :
  • เข้าวงการตั้งแต่เด็กเสี่ยงติดยา ฆ่าตัวตาย จริงหรือ

    เข้าวงการตั้งแต่เด็กเสี่ยงติดยา ฆ่าตัวตาย จริงหรือ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • เข้าวงการตั้งแต่เด็กเสี่ยงติดยา ฆ่าตัวตาย จริงหรือ

    เข้าวงการตั้งแต่เด็กเสี่ยงติดยา ฆ่าตัวตาย จริงหรือ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ