X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

หย่านมยังไง ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก ควรใช้ ยาหยุดน้ำนม หรือไม่ ?

บทความ 3 นาที
หย่านมยังไง ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก ควรใช้ ยาหยุดน้ำนม หรือไม่ ?

หย่านมยังไง ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก เพราะการเลี้ยงลูกมันต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ค่ะ อยู่ๆ หักดิบ อย่านมลูกเลยมันไม่ใช่ค่ะคุณพ่อคุณแม่ทั้งหลาย

หย่านมยังไง ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก

หย่านมยังไง ใช้ ยาหยุดน้ำนม ดีหรือไม่ ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก หมดเวลาลาคลอด ถึงเวลาที่ต้องกลับไปทำงาน หรือแม้แต่คุณแม่ที่มีปัญหาสุขภาพ ก็ต้องรีบหาวิธีหย่านมลูกให้ได้ใช่ไหมละคะ

 

ประนีประนอม

การหย่านมลูกแบบหักดิบอาจเกิดผลเสียทั้งแม่ทั้งลูกนะคะ ดังนั้นอย่าหยุดนมแบบทันทีทันใด ในกรณีที่ลูกยังดูดนมวันละหลายครั้ง เพราะจะทำให้เต้านมของคุณแม่คัดจนอักเสบเป็นฝี

ให้ค่อยๆลด 1 มื้อทุก 2-3 วัน จะทำให้เต้านมปรับตัวลดปริมาณการสร้างน้ำนม ประคบเย็นบ่อยๆ หรือใช้กะหล่ำปลีแกะเป็นใบล้างสะอาดแช่ฟรีซ แล้วเอามาใส่ไว้ในเสื้อชั้นใน จะบรรเทาอาการปวดคัดตึงเต้าได้ดี อาจกินยาพาราเซตามอลบรรเทาปวดได้

แต่ไม่แนะนำให้กินยาลดน้ำนม เพราะคุณตั้งครรภ์อยู่ หากมีอาการปวดเต้ามากอาจบีบน้ำนมออกเล็กน้อยพอให้หายปวด หากบีบออกมากไป จะเป็นการกระตุ้นให้สร้างน้ำนมเพิ่มขึ้นได้

 

ปรับเปลี่ยนวิธีการให้นม

โดยจากที่ดูดเต้าก็เปลี่ยนเป็นการให้ลูกกินนม จากขวดหรือถ้วยหรือดูดหลอดแล้วแต่อายุของลูก โดยผู้อื่นเป็นคนให้ จะง่ายกว่าแม่เป็นคนให้ ควรให้ตอนลูกเคลิ้มๆ หรือหิว

ในกรณีที่คุณแม่กำลังท้องน้อง และลูกคนโตยังกินนมแม่ได้อยู่ พี่อาจจะยอมกินนมสต๊อกที่น้องทารกกินเหลืออยู่ในขวดซึ่งเป็นนมเหม็นหืน ซึ่งเด็กส่วนใหญ่จะไม่ยอมกิน แต่ถ้าเป็นนมที่เพิ่งปั๊มเสร็จใหม่ๆ หรือ เป็นนมเย็นแต่ไม่ได้ผ่านการเป็นนมแช่แข็งมาก่อน กลิ่นจะไม่แรง รสชาติจะไม่แย่มาก ลูกคนโตอาจยอมกิน

หรือจะเปลี่ยนเป็นนมแช่แข็ง แต่เอามาขูดกิน คล้ายไอศกรีม หรือ เอานมแช่แข็งมาปั่นกับผลไม้ชนิดต่างๆ รสชาติก็ไม่แย่ ลูกอาจยอมกิน หรือ อาจนำนมแม่มาผสมน้ำหวานหรือผงโกโก้จำนวนเล็กน้อย

 

ยาหยุดน้ำนม

ยาหยุดน้ำนม

กรณีสุดท้าย ถ้าไม่ยอมกินจริงๆ เพราะให้ลูกได้เจอน้ำตาลเล็กน้อยที่ใช้ผสม แล้วลดการให้น้ำตาลจากขนมหวาน ก็ยังคุ้มค่าที่ลูกคนโตได้กินนมแม่เข้าไปบ้าง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและได้รับสารที่เป็นประโยชน์อื่นๆ จากนมแม่

คุณแม่ที่คลอดลูกคนเล็กแล้ว อาจจะให้ลูกคนโตกลับมากินนมแม่อีกได้ จะโดยการดูดโดยตรงหรือปั๊มให้กินก็ได้ เพราะนมแม่มีประโยชน์สำหรับเด็กจนอายุ 7 ขวบ ไม่ต้องกลัวว่าลูกจะมีพัฒนาการถดถอยหรือเบี่ยงเบนจากการดูดนมแม่ไปจนโต เพราะหากลูกมีพัฒนาการผิดปกติ ไม่ได้เป็นจากการดูดนมแม่ แต่เป็นจากวิธีการเลี้ยงดูด้านอื่นๆ ไม่ถูกต้อง

 

อาจมีน้ำตาบ้าง แต่ไม่นาน

ลูกร้องไห้มากขึ้นแน่นอน แต่หากอดทนได้นานถึง 1-2 สัปดาห์ เขาจะปรับตัวได้ และลืมไปด้วยซ้ำว่าการดูดนมแม่ทำอย่างไร คุณแม่หลายคนกลัวลูกฝังใจ ความทุกข์จากการไม่ได้ดูดนมแม่นั้น ไม่ได้ส่งผลต่อพัฒนาการตอนโต แป๊บเดียวลูกก็ลืมแล้ว เหมือนกับการฝึกให้ลูกเลิกใช้ขวดนม เลิกกินนมกลางคืน เมื่อถึงเวลาเราก็ต้องฝืน เพราะลูกต้องมีพัฒนาการเพื่อก้าวต่อไป

อย่าลืมให้ความเอาใจใส่ดูแลลูกมากขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อให้เขารู้สึกว่าคุณแม่ยังรักเขาอยู่เสมอ และหากิจกรรมให้ลูกทำเพลินๆ ถ้าเป็นกิจกรรมนอกบ้านจะช่วยให้ลืมนมแม่ได้ง่ายมากขึ้น

 

สิ่งที่ไม่ควรทำ ห้ามใช้ ยาหยุดน้ำนม

ไม่แนะนำให้ใช้ ยาหยุดน้ำนม ยาขมหรือบอระเพ็ดหรือยาหม่องหรือพริก มาทาที่หัวนม เพราะเป็นการลาจากเต้าที่ไม่สวยงาม และถ้าภายหลังคุณแม่อยากให้เขากลับมาดูดเต้าอีก เขาจะไม่ยอมดูดแล้วค่ะ

 

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

ที่มา สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ

บทความที่น่าสนใจ

ลูกโง่+เตี้ย ตัวเหลือง ป่วยบ่อย น้ำหนักน้อย เพราะกินนมแม่ มันใช่เหรอ

นมแม่หลัง 6 เดือน กินไปไร้ประโยชน์จริงหรือ??

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
  • /
  • หย่านมยังไง ไม่เสียน้ำตาทั้งแม่ทั้งลูก ควรใช้ ยาหยุดน้ำนม หรือไม่ ?
แชร์ :
  • หย่านมแม่อย่างไรไม่ทำร้ายใจลูก

    หย่านมแม่อย่างไรไม่ทำร้ายใจลูก

  • 10 เคล็ดลับหย่านมลูก ช่วยลูกเลิกติดเต้าอย่างได้ผล

    10 เคล็ดลับหย่านมลูก ช่วยลูกเลิกติดเต้าอย่างได้ผล

  • อาการคนท้องไตรมาส 3 ความเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด และสัญญาณใกล้คลอด

    อาการคนท้องไตรมาส 3 ความเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด และสัญญาณใกล้คลอด

  • หย่านมแม่อย่างไรไม่ทำร้ายใจลูก

    หย่านมแม่อย่างไรไม่ทำร้ายใจลูก

  • 10 เคล็ดลับหย่านมลูก ช่วยลูกเลิกติดเต้าอย่างได้ผล

    10 เคล็ดลับหย่านมลูก ช่วยลูกเลิกติดเต้าอย่างได้ผล

  • อาการคนท้องไตรมาส 3 ความเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด และสัญญาณใกล้คลอด

    อาการคนท้องไตรมาส 3 ความเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด และสัญญาณใกล้คลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ