X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

บทความ 5 นาที
เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้านเคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

ทารกทุกคนควรได้ดื่มนมแม่ล้วนจนอายุ 6 เดือนและดื่มนมแม่ต่อไปควบคู่กับอาหารเสริมตามวัยจน 2 ขวบหรือมากกว่า สำหรับแม่ที่ทำงานสามารถบีบหรือปั๊มนมจากที่ทำงานได้

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ ที่ทำงานนอกบ้าน

คำแนะนำจากมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย

ระยะลาคลอด

  • ให้ลูกดูดนมจากเต้านมแม่อย่างเดียวสม่ำเสมอเพื่อกระตุ้นการสร้างน้ำนม
  • หลัง 1 – 2 เดือน เมื่อมีน้ำนมมากพอ ให้เริ่มบีบหรือปั๊มเก็บน้ำนม
  • ฝึกคนเลี้ยงให้มีวามชำนาญในการป้อนนมด้วยถ้วย
  • หากคนเลี้ยงไม่สามารถป้อนนมด้วยถ้วยได้ จะเลือกป้อนจากขวดควรเริ่มหลัง 1 – 2 เดือน เมื่อลูกดูดนมแม่ได้ดีแล้ว
  • 1 – 2 สัปดาห์ก่อนกลับไปทำงาน ฝึกให้คนเลี้ยงคุ้นเคยกับลูก และเริ่มป้อนนมบีบให้ลูก
เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

หลัง 1 – 2 เดือน เมื่อมีน้ำนมมากพอ ให้เริ่มบีบหรือปั๊มเก็บน้ำนม

5 เทคนิคการบีบหรือปั๊มนมเก็บ

#1 ดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มอุ่น ๆ ก่อนบีบหรือปั๊มนมเก็บ

#2 ล้างมือให้สะอาด

#3 หามุมสงบเพื่อช่วยให้ผ่อนคลาย

#4 รวดเต้านมเป็นวงกลมจากฐานเต้านมเข้าหาหัวนม อาจประคบเต้านมด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นจัด 1 – 3 นาที จะทำให้น้ำนมไหลดีขึ้น

#5 กระตุ้นหัวนมด้วยการใช้นิ้วดึงหรือคลึงเบา ๆ พร้อมกับนึกถึงลูก

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

กระตุ้นหัวนม ด้วยการใช้นิ้ว ดึงหรือคลึงเบา ๆ พร้อมกับนึกถึงลูก

ทำไมแม่ที่ให้ลูกดูดเต้าถึงปั๊มนมได้น้อย

ทำไมแม่ที่ให้ลูกดูดเต้าถึงปั๊มนมได้น้อย : คุณแม่ที่ให้ลูกดูดเต้าตั้งแต่แรกคลอด โดยที่ไม่ได้มีการปั๊มนมเลย หรือบางคนก็อาจจะปั๊มน้อย ไม่สม่ำเสมอ พอถึงเวลาที่ต้องเตรียมตัวไปทำงาน และเริ่มปั๊มนมอย่างจริงจัง ส่วนมากก็อาจจะปั๊มได้ประมาณ 1 – 2 จึงเกิดความวิตกกังวลว่า ทำไมเราปั๊มนมได้น้อย เป็นเพราะเครื่องปั๊มไม่ดี หรือว่าเรามีนมไม่พอกันแน่

ในขณะที่คุณแม่ที่ ปั๊มนม อย่างเดียว โดยไม่ให้ลูกดูด ก็อาจจะดูเป็นเรื่องปกติที่คุณแม่นักปั๊มจะสามารถปั๊มนมได้ถึงวันละ 40 – 60 ออนซ์ ในขณะที่ลูกต้องการน้ำนมจริงๆ เพียงวันละ 24 – 30 ออนซ์ ทำให้คุณแม่กลุ่มนี้มีน้ำนมเต็มตู้ และจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนไม่มีที่เก็บ เพราะลูกกินไม่ทัน

ซึ่งสาเหตุนั่นก็เป็นเพราะ คุณแม่ที่ปั๊มนมอย่างเดียวนั้น ร่างกายจะผลิตน้ำนมตอบสนองกับปริมาณน้ำนม ที่ระบายออกไปจากการปั๊มของเครื่อง ยิ่งปั๊มมาก น้ำนมจะยิ่งมาก ยิ่งปั๊มบ่อย น้ำนมจะยิ่งเยอะนั่นเอง

ย่างไรก็ตาม ปริมาณน้ำนม ที่ได้ 1 – 2 ออนซ์ของคุณแม่ที่เพิ่งจะเริ่มปั๊มนั้น ถือเป็นเรื่องปกตินะครับ เพราะที่ผ่าน มาร่างกายของคุณแม่มีการการผลิตน้ำนมตามที่ให้ลูกไป ถ้าลูกดูดไปแค่ไหน ร่างกายก็ผลิตแค่นั้น ซึ่งก็เป็นปริมาณที่เพียงพอสำหรับลูก ไม่ได้น้อยกว่าที่ลูกต้องการ แต่ก็อาจจะน้อยกว่าคุณแม่ที่เริ่มปั๊มนมตั้งแต่แรก ด้วยเหตุผลที่ได้อธิบายไปตอนต้นนั่นเองครับ

เคล็ดลับบีบน้ำนมสำหรับแม่ที่ทำงาน
ขอบคุณ Infographic จากมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย

ให้ลูกดูดเต้า แต่ต้องการน้ำนมเพิ่ม

สำหรับคุณแม่ที่ให้ลูก ดูดเต้า แล้วต้องการเพิ่มปริมาณน้ำนม ก็สามารถทำได้ด้วยการเพิ่มการปั๊มให้มากขึ้น แต่ถ้าลูกติดเต้ามาก จนไม่มีเวลาปั๊ม ก็ให้ปั๊มพร้อมกับที่ลูกดูดเลยก็ได้นะครับ คือให้ลูกดูดข้างนึง อีกข้างปั๊มไปพร้อม ๆ กัน โดยปั๊มประมาณ 15 นาที แล้วให้เก็บน้ำนมที่ปั๊มได้ไว้เป็นสต็อค จากนั้นจึงให้ลูกมาดูดข้างที่เพิ่งปั๊มไป

และสำหรับในครั้งถัดไปก็ให้ทำสลับกัน คือข้างที่ดูดจากครั้งที่แล้วให้เปลี่ยนเป็นปั๊ม ข้างที่ปั๊มให้เปลี่ยนเป็นดูด และในระหว่างวัน หลังจากลูกดูด 1 ชม. ถ้ามีจังหวะที่ลูกหลับแล้วไม่ได้ดูดนม ก็ให้ปั๊มพร้อมกันสองข้างประมาณ 10 นาที ไม่ต้องกลัวนมหมดนะครับ ถ้าลูกตื่นก็ให้ดูดต่อได้เลยครับ

เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

สำหรับคุณแม่ที่ให้ลูก ดูดเต้า แล้วต้องการเพิ่มปริมาณน้ำนม ก็สามารถทำได้

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

10 อาหารแม่หลังคลอด อาหารแม่ลูกอ่อน อาหารเรียกน้ำนม อาหารของคุณแม่

สิ่งที่แม่ท้องควรรู้ เกี่ยวกับโควิด-19 แม่เป็นลูกจะติดมั้ย ไวรัสติดผ่าน น้ำนมได้มั้ย

กระบวนการสร้าง น้ำนมแบบ อะโพไครน์ มีประโยชน์อย่างไร ทำไมถึงดี ต่อร่างกายลูกรัก?

บทความจากพันธมิตร
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ
คุณแม่ให้นมเตรียมตัวกลับไปทำงาน ต้องปั๊มนม สต็อกนมอย่างไร ให้ลูกมีนมกินอย่างเพียงพอ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน
แชร์ :
  • เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน

    เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน

  • เทคนิคเพิ่มน้ำนมสำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย

    เทคนิคเพิ่มน้ำนมสำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

app info
get app banner
  • เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน

    เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน

  • เทคนิคเพิ่มน้ำนมสำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย

    เทคนิคเพิ่มน้ำนมสำหรับคุณแม่น้ำนมน้อย

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ